ผลต่างระหว่างรุ่นของ "418531 ภาคต้น 2552/โจทย์ปัญหาการวิเคราะห์เชิงการจัด/เฉลยข้อ 12"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 4: แถว 4:
 
== ข้อย่อย 2 ==
 
== ข้อย่อย 2 ==
 
การที่ <math> S_1, S_2, ..., S_k </math> ไม่มีส่วนร่วมกันเป็นคู่ ๆ คือ สำหรับสมาชิก x ใด ๆ แล้ว x จะอยู่ในสับเซตได้เพียงตัวเดียวเท่านั้น หรือถ้าไม่อยู่ก็ไม่อยู่ทุกสับเซตเลย ดังนั้น จำนวนของลำดับ <math> (S_1, S_2, ..., S_k) </math> ในข้อนี้คือ <math> {(k+1)}^n </math>
 
การที่ <math> S_1, S_2, ..., S_k </math> ไม่มีส่วนร่วมกันเป็นคู่ ๆ คือ สำหรับสมาชิก x ใด ๆ แล้ว x จะอยู่ในสับเซตได้เพียงตัวเดียวเท่านั้น หรือถ้าไม่อยู่ก็ไม่อยู่ทุกสับเซตเลย ดังนั้น จำนวนของลำดับ <math> (S_1, S_2, ..., S_k) </math> ในข้อนี้คือ <math> {(k+1)}^n </math>
 +
 +
== ข้อย่อย 3 ==
 +
การที่ <math> S_1 \cap S_2 \cap S_3 \cap  ... \cap S_k = \emptyset </math> นั้นแสดงว่าสำหรับสมาชิก x ใด ๆ นั้น x สามารถอยู่ได้ในหลายสับเซต แต่จะอยู่ทั้ง k สับเซตไม่ได้ นั่นคืออยู่ได้มากที่สุดแค่ k-1 สับเซตเท่านั้น จำนวนของลำดับ <math> (S_1, S_2, ..., S_k) </math> ในข้อนี้คือ <math> {(2^k-1)^n} </math>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:45, 1 สิงหาคม 2552

ข้อย่อย 1

จากเงื่อนไขที่การเลือกลำดับ โดยที่ นั้นแสดงว่า ถ้า แล้ว ด้วย และถ้า แล้ว ด้วย ดังนั้น จำนวนของลำดับ ในข้อนี้คือ

ข้อย่อย 2

การที่ ไม่มีส่วนร่วมกันเป็นคู่ ๆ คือ สำหรับสมาชิก x ใด ๆ แล้ว x จะอยู่ในสับเซตได้เพียงตัวเดียวเท่านั้น หรือถ้าไม่อยู่ก็ไม่อยู่ทุกสับเซตเลย ดังนั้น จำนวนของลำดับ ในข้อนี้คือ

ข้อย่อย 3

การที่ นั้นแสดงว่าสำหรับสมาชิก x ใด ๆ นั้น x สามารถอยู่ได้ในหลายสับเซต แต่จะอยู่ทั้ง k สับเซตไม่ได้ นั่นคืออยู่ได้มากที่สุดแค่ k-1 สับเซตเท่านั้น จำนวนของลำดับ ในข้อนี้คือ