ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักริน ชวชาติ"
Chung (คุย | มีส่วนร่วม) |
Chung (คุย | มีส่วนร่วม) (→บันทึก) |
||
แถว 36: | แถว 36: | ||
==บันทึก== | ==บันทึก== | ||
+ | |||
+ | เข้าใจว่า | ||
+ | |||
+ | อัลกอริทึมจะสร้าง BFS tree<math> T</math>ของ <math>G</math> rooted at <math>s</math> แล้วคำนวณหาความลึกของทุกๆ nodes ใน tree จากนั้นในแต่ละชั้น <math>i</math> ความลึกจะหา maximal independent set <math>U_i</math> จะเรียก node พวกนี้ว่าเป็น dominators ส่วน node ที่เป็น parents ของ dominators ใน T เรียกว่า connectors ทีนี้ส่วนที่น่าสนใจจะเป็นในแต่ละชั้นจะส่งข้อมูลกันอย่างไร โดยที่ไม่ชนกัน ซึ่งปัญหานี้แปลงไปเป็นปัญหา coloring |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:24, 31 มีนาคม 2552
เนื้อหา
ประวัติ
ชื่อ: จักริน ชวชาติ
หัวข้องานวิจัย
Degree Limiting Minimum Diameter Tree Problem
เป็นปัญหา Network design มีกราฟ ต้องการหา spanning tree โดยมี objective ที่สนใจอยู่ 2 อย่าง ได้แก่ low diameter และ degree ของแต่ละ nodeไม่เกินดีกรีที่ node นั้นรับได้ ปัญหานี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้เกี่ยวกับงาน peer to peer streaming ได้คือต้องการให้มี delay น้อย(สัมพันธ์กับ diameter) และการ assign งานไม่เกินที่แต่ละ node รับได้(สอดคล้องกับ degree)
Problem Definition
Given a metric length function over a set of nodes, and a degree-bound for each , the Degree-Limiting Minimum-Diameter Spanning Tree Problem (DLDST) is to find a spanning tree of of minimum diameter such that each node has degree at most in .
เอกสารอ้างอิง
Shi, S. Y.; Turner, J. S. & Waldvogel, M. Dimensioning server access bandwidth and multicast routing in overlay networks In 11th International Workshop on Network and Operating System Support for Digital Audio and Video (NOSSDAV’01), 2001, 83-92
Frederickson, G. N.; Hecht, M. S. & Kim, C. E. Approximation Algorithms for Some Routing Problems SIAM Journal on Computing, SIAM, 1978, 7, 178-193
Könemann, J.; Levin, A. & Sinha, A. Approximating the degree-bounded minimum diameter spanning tree problem Algorithmica, Springer, 2003, 109-121
บันทึก
Paper: Minimum-Latency Broadcast Scheduling in Wireless Ad Hoc Networks.
ที่มา INFOCOM 2007. 26th IEEE International Conference on Computer Communications. IEEE (2007), pp. 733-739. ของ Huang, S.C.-H. Peng-Jun Wan Xiaohua Jia Hongwei Du Weiping Shang
Problem
An instance of Minimum-Latency Broadcast Scheduling consists of an undirected graph representing the communication topology and a distinguished node as the source of the broadcast. For any subset of , denote by the set of nodes in each of which has exactly one neighbor in . Then a broadcast schedule of latency is a sequence satisfying that
(1).
(2) for each .
(3).
The problem MLBS seeks a broadcast schedule of the smallest latency.
บันทึก
เข้าใจว่า
อัลกอริทึมจะสร้าง BFS treeของ rooted at แล้วคำนวณหาความลึกของทุกๆ nodes ใน tree จากนั้นในแต่ละชั้น ความลึกจะหา maximal independent set จะเรียก node พวกนี้ว่าเป็น dominators ส่วน node ที่เป็น parents ของ dominators ใน T เรียกว่า connectors ทีนี้ส่วนที่น่าสนใจจะเป็นในแต่ละชั้นจะส่งข้อมูลกันอย่างไร โดยที่ไม่ชนกัน ซึ่งปัญหานี้แปลงไปเป็นปัญหา coloring