ผลต่างระหว่างรุ่นของ "01204111 model codes"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
 
(ไม่แสดง 6 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 177: แถว 177:
 
     static void Main()
 
     static void Main()
 
     {
 
     {
 +
        Console.Write("Total amount is ");
 +
        Console.WriteLine( 82+64+90+75+33 );
 +
        Console.Write("Each has to pay ");
 
         Console.WriteLine( (82+64+90+75+33) / 5 );
 
         Console.WriteLine( (82+64+90+75+33) / 5 );
 
     }
 
     }
แถว 193: แถว 196:
 
     static void Main()
 
     static void Main()
 
     {
 
     {
 +
        Console.Write("Total amount is ");
 +
        Console.WriteLine( 82+64+90+75+33 );
 +
        Console.Write("Each has to pay ");
 
         Console.WriteLine( (82+64+90+75+33) / 5.0 );
 
         Console.WriteLine( (82+64+90+75+33) / 5.0 );
 
     }
 
     }
แถว 200: แถว 206:
 
</div>
 
</div>
  
==== โจทย์: แชร์ค่าอาหารพร้อมให้ทิป ====
 
* หัวข้อการเรียนรู้
 
** การหารเอาเศษและตัวดำเนินการ %
 
** การใช้ตัวแปร
 
 
<div class="toccolours mw-collapsible mw-collapsed">
 
<div class="toccolours mw-collapsible mw-collapsed">
ตัวอย่างโปรแกรม #1 (เขียนแบบตรง ๆ)
+
ตัวอย่างโปรแกรมที่ปรับปรุงแล้ว (ใช้ตัวแปรเก็บค่านิพจน์ที่คำนวณซ้ำซ้อน)
 
<div class="mw-collapsible-content">
 
<div class="mw-collapsible-content">
 
<syntaxhighlight lang="csharp">
 
<syntaxhighlight lang="csharp">
แถว 214: แถว 216:
 
     static void Main()
 
     static void Main()
 
     {
 
     {
         Console.Write("Each pays: ");
+
        int total = 82+64+90+75+33;
         Console.WriteLine( (82+64+90+75+33) / 5 );
+
         Console.Write("Total amount is ");
         Console.Write("Tip: ");
+
         Console.WriteLine(total);
         Console.WriteLine( (82+64+90+75+33) % 5 );
+
         Console.Write("Each has to pay ");
 +
         Console.WriteLine( total / 5.0 );
 
     }
 
     }
 
}
 
}
แถว 223: แถว 226:
 
</div>
 
</div>
 
</div>
 
</div>
 +
 +
==== โจทย์: แชร์ค่าอาหารพร้อมให้ทิป ====
 +
* หัวข้อการเรียนรู้
 +
** การหารเอาเศษและตัวดำเนินการ %
 
<div class="toccolours mw-collapsible mw-collapsed">
 
<div class="toccolours mw-collapsible mw-collapsed">
ตัวอย่างโปรแกรม #2 (นำตัวแปรมาใช้เพื่อลดการใช้นิพจน์ซ้ำซ้อน)
+
ตัวอย่างโปรแกรม
 
<div class="mw-collapsible-content">
 
<div class="mw-collapsible-content">
 
<syntaxhighlight lang="csharp">
 
<syntaxhighlight lang="csharp">
แถว 235: แถว 242:
 
         int total;
 
         int total;
 
         total = 82+64+90+75+33;
 
         total = 82+64+90+75+33;
         Console.Write("Each pays: ");
+
        Console.Write("Total amount: ");
 +
        Console.WriteLine( total );
 +
         Console.Write("Each has to pay: ");
 
         Console.WriteLine( total / 5 );
 
         Console.WriteLine( total / 5 );
 
         Console.Write("Tip: ");
 
         Console.Write("Tip: ");

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:16, 1 สิงหาคม 2559

ตัวอย่างโปรแกรมที่ควรเขียนได้และเข้าใจเมื่อเรียนเนื้อหาแต่ละส่วน

เนื้อหา

แนะนำคอมพิวเตอร์และการโปรแกรม

  • 1 คาบ
  • องค์ประกอบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
    • ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และระบบปฏิบัติการ
  • การแทนข้อมูล
  • ระบบเลขฐาน
  • เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต (?)
  • มโนทัศน์การโปรแกรม
    • ภาษาระดับต่ำ
    • ภาษาระดับสูง
    • การแปลภาษา
    • ขั้นตอนวิธีและการแตกปัญหาเป็นปัญหาย่อย
    • โฟลว์ชาร์ท

ตัวอย่างโปรแกรม

โปรแกรมการกินข้าว

1. ขณะที่ ข้าวในจานยังไม่หมด ให้ทำดังนี้
1.1    ถ้า ยังกินไหว ให้ทำดังนี้
1.1.1      ตักข้าวเข้าปาก
1.2    ถ้าไม่เช่นนั้น
1.2.1      เลิกกิน
2. ถ้า ยังไม่อิ่ม และ เงินยังไม่หมด ให้ทำดังนี้
2.1    ซื้อข้าวอีกจาน
2.2    กลับไปทำข้อ 1

ตัวแปร นิพจน์ โปรแกรมเชิงลำดับอย่างง่าย อินพุต/เอาท์พุต

  • 1 คาบ
  • แนะนำ data type เท่าที่จำเป็น
    • int สำหรับจำนวนเต็ม (ไม่ต้องมี short หรือ byte)
    • double สำหรับทศนิยม (ไม่ต้องมี float)
    • char
    • string
  • ตัวดำเนินการพื้นฐาน +, -, *, /, %
    • ลำดับความสำคัญ และวงเล็บ
    • ยังไม่ต้องสอน ++, --, += และ -= ในตอนนี้
  • อาศัย interactive shell ในการแสดงลำดับการคำนวณ การใช้ตัวแปร และการนำเอาลำดับเหล่านี้มารวมกันเป็นโปรแกรมเพื่อทำงานทีเดียว
  •  ??การประกาศตัวแปรด้วยคีย์เวิร์ด var
  • การใช้ Console.ReadLine() และ Console.WriteLine() เมื่อเริ่มนำมาเขียนเป็นโปรแกรม
  • แทรกเกร็ดเรื่อง formatting โดยใช้ Console.Write() ไปเรื่อย ๆ
  •  ?? ไม่ต้องสอนการประกาศตัวแปรแบบ const
  • ไม่ต้องสอน ConvertTo() และการทำ type casting ระหว่างตัวเลขเป็นตัวอักษร (เช่น (int)'A' หรือ (char)65)

ลำดับโปรแกรมที่พัฒนา

โจทย์: คำนวณบิลค่าอาหาร

  • หัวข้อการเรียนรู้
    • การคำนวณแบบบวกเลขอย่างง่าย
    • นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ (math expression)
    • การส่งออกเอาท์พุท
    • ความหมายของคำสั่ง (statement)
ขยาย

ตัวอย่างโปรแกรม

ขยาย

ตัวอย่างโปรแกรมที่ปรับเอาท์พุทให้เหมาะสมขึ้น

โจทย์: บิลอาหารพร้อมส่วนลด 20%

  • หัวข้อการเรียนรู้
    • ลำดับความสำคัญของตัวดำเนินการ
ขยาย

ตัวอย่างโปรแกรมที่ผิด (การคูณเกิดขึ้นกับ 33 เท่านั้น)

ขยาย

ตัวอย่างโปรแกรมที่ถูก (ใช้วงเล็บครอบนิพจน์บวกทั้งหมด)

โจทย์: สั่งอาหารซ้ำกันหลายเมนู

  • หัวข้อการเรียนรู้
    • ใช้วงเล็บช่วยให้เขียนโปรแกรมไม่กำกวม แม้ไม่ทำให้การทำงานเปลี่ยน
ขยาย

ตัวอย่างโปรแกรม (เขียนโดยอาศัยลำดับความสำคัญ * ที่มาก่อน +)

ขยาย

ตัวอย่างโปรแกรม (เพิ่มวงเล็บเพื่อความชัดเจน)

โจทย์: แชร์ค่าอาหาร

  • หัวข้อการเรียนรู้
    • การหารแบบจำนวนเต็ม และการหารแบบทศนิยม
ขยาย

ตัวอย่างโปรแกรมที่ผิด (ใช้การหารแบบจำนวนเต็ม)

ขยาย

ตัวอย่างโปรแกรมที่ถูก (เปลี่ยนให้เป็นการหารแบบทศนิยม)

ขยาย

ตัวอย่างโปรแกรมที่ปรับปรุงแล้ว (ใช้ตัวแปรเก็บค่านิพจน์ที่คำนวณซ้ำซ้อน)

โจทย์: แชร์ค่าอาหารพร้อมให้ทิป

  • หัวข้อการเรียนรู้
    • การหารเอาเศษและตัวดำเนินการ %
ขยาย

ตัวอย่างโปรแกรม

โจทย์: แปลงอุณหภูมิจากองศาเซลเซียสเป็นเคลวิน

  • หัวข้อการเรียนรู้
    • การอ่านอินพุทด้วย Console.ReadLine()
    • ชนิดข้อมูลแบบจำนวนและสตริง
    • ตัวดำเนินการ + ที่ให้พฤติกรรมแตกต่างกันเมื่อใช้กับจำนวนและสตริง
    • การใช้เมท็อด Parse() เพื่อเปลี่ยนสตริงเป็นจำนวน
    • การฟอร์แมตเอาท์พุท
ขยาย

ตัวอย่างโปรแกรมที่ผิด (บวกสตริงเข้ากับจำนวน)

ขยาย

ตัวอย่างโปรแกรมที่ถูก #1

ขยาย

ตัวอย่างโปรแกรมที่ถูก #2 (ฟอร์แมตข้อความให้เหมาะสม)

โจทย์: แปลงอุณหภูมิจากองศาเซลเซียสเป็นหน่วยอื่น ๆ

  • หัวข้อการเรียนรู้
    • การวิเคราะห์โจทย์
    • การฟอร์แมตตัวเลขให้มีจำนวน​ทศนิยมที่กำหนด
ขยาย

ตัวอย่างโปรแกรม

โจทย์: คำนวณเงินฝากธนาคาร

  • หัวข้อการเรียนรู้
    • การวิเคราะห์โจทย์
    • การใช้ไลบรารี Math
ขยาย

ตัวอย่างโปรแกรม

โปรแกรมย่อยและไลบรารี

  • เป้าหมาย: การใช้โปรแกรมย่อยเพื่อการแบ่งปัญหาเป็นปัญหาย่อย และเพื่อให้โปรแกรมอ่านเข้าใจง่าย (ไม่ใช่เพื่อทำให้โปรแกรมสั้นลง)
  • 1 คาบ
  • การเรียกใช้ฟังก์ชันในคลาส Math และทบทวนการเรียกใช้ฟังก์ชันที่เคยทำมาแล้ว (ReadLine, WriteLine, Parse ฯลฯ)
  • การสร้างโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันขึ้นมาด้วยตนเองเพื่อคำนวณสูตรที่ไม่มีให้ในไลบรารี
  • พารามิเตอร์และการส่งค่า
    • ความหมายของพารามิเตอร์และอาร์กิวเมนต์
    • ครอบคลุมเฉพาะ pass by value
    •  ?? การกำหนดพารามิเตอร์ด้วย keyword argument ตัวอย่างเช่น
ขยาย

คลิก "ขยาย" เพื่อดูตัวอย่างโปรแกรม

  • สโคปของตัวแปร

ลำดับของโปรแกรมที่จะพัฒนา

1. โปรแกรมคำนวณพื้นที่วงกลม 1

ขยาย

ตัวอย่างแรกสุดที่แสดงการเรียกโปรแกรมย่อยโดยไม่ต้องส่งพารามิเตอร์ใดๆ เพื่อแสดง top-down design ขั้นพื้นฐาน

2. โปรแกรมคำนวณพื้นที่วงกลม 2

ขยาย

ทำงานเดียวกับโปรแกรมแรก แต่มีการเรียกโปรแกรมย่อยที่มีพารามิเตอร์แบบ pass by value และรีเทิร์นผลลัพธ์ แสดงการออกแบบโปรแกรมแบบ modular และ stepwise refinement มากยิ่งขึ้น

3. โปรแกรมคำนวณค่าเฉลี่ยของตัวแปร 3 ตัว (version 2)

ขยาย

หาค่าเฉลี่ยของจำนวนเต็มสามตัว เป็นโปรแกรมที่ปรับมาจากโปรแกรมที่ Main ทำทุกอย่าง เป็นอีกตัวอย่างที่แสดงการใช้โปรแกรมย่อย

4. โปรแกรมคำนวณค่าเฉลี่ยของตัวแปร 3 ตัว (version 3)

ขยาย

หาค่าเฉลี่ยของจำนวนเต็มสามตัว ใช้ out พารามิเตอร์ในการส่งค่ากลับ

5. โปรแกรมคำนวณพื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู

ขยาย

ปรับแก้จากตัวอย่างการคำนวณค่าเฉลี่ย แสดงตัวอย่างการนำโปรแกรมที่แบ่งโครงสร้างที่ดีไว้แล้วมาปรับแก้

โปรแกรมตัวอย่างอื่น ๆ

หาพื้นที่สี่เหลี่ยม

ขยาย

ตัวอย่างแสดงการแยกส่วนของการคำนวณเป็นโปรแกรมย่อย

ตัวอย่าง 2 (มีการใช้หลาย method)

TODO

ตัวอย่าง 3 (มีการใช้หลาย method, ใน method มีการเรียนใช้ method อื่น)

TODO

นิพจน์เชิงตรรกและโครงสร้างคำสั่งแบบทางเลือก

  • ทุกตัวอย่างมีการใช้โปรแกรมย่อยเสมอ

ตัวอย่างโปรแกรม

แก้สมการกำลังสอง

เป็นตัวอย่างของการเขียนโปรแกรมแก้สมการกำลังสอง โดยพิจารณาแบบ top-down

ส่วนแรกเป็นโปรแกรมหลักที่รับสัมประสิทธิ์ a,b,c และเรียกใช้โปรแกรมย่อยในการประมวลผล

ขยาย

เมท็อด Main

เริ่มเขียนส่วนรับอินพุต

ขยาย

เขียนเมท็อด ReadCoefficients

ขยาย

ที่ใช้เมท็อด ReadDouble

เมื่อเขียนถึงจุดนี้ควรจะทดสอบโปรแกรมเสียก่อน อาจจะต้อง comment SolveAndOutput ไปก่อน และเพิ่มคำสั่งในการพิมพ์ค่า a b c ออกมา

โครงหลักของการแก้สมการ SolveAndOutput มีเงื่อนไขเกี่ยวกับค่า ที่ต้องรวมการแสดงผลไว้ด้วยเพราะว่าแสดงผลได้สองแบบ (และเรายังคืนค่าเป็น complex ไม่เป็น) ซึ่งถ้าแบ่งงานอีกแบบคือให้โปรแกรมย่อยคืนค่าเป็นจำนวนเชิงซ้อนตลอดเวลา ก็จะเขียนได้สะอาดกว่านี้ ในตอนแรกเราจะเขียนแค่ส่วนหาคำตอบกรณีที่เป็นจำนวนจริงก่อนเพื่อให้สามารถทดสอบโปรแกรมได้เมื่อทำส่วนย่อยแรกนี้เสร็จ

ขยาย

เขียนในเมท็อด SolveAndOutput

ส่วนตรวจสอบว่ามีคำตอบเป็นจำนวนจริง (ไม่ได้ตรวจว่ามีคำตอบเดียวหรือเปล่า --- สามารถเก็บไปเป็นการบ้านที่ทำในแลบได้)

ขยาย

ในการตรวจสอบจะคำนวณ inner term ด้วยเมท็อด CalculateInnerTerm ก่อน จากนั้นจึงค่อนตรวจสอบค่า

จากนั้นจึงเมท็อดที่เหลือในการหาคำตอบกรณีคำตอบเป็นจำนวนจริง

ขยาย

มีเมท็อด FindRealSolutions และ OutputRealSolutions

เมื่อเขียนถึงตรงนี้ควรจะทดสอบโปรแกรมก่อน (ไม่ควรเขียนต่อ) เราควรเน้นให้นิสิตทดสอบโปรแกรมเป็นระยะ ๆ ไม่ใช่เขียนรวดเดียวแล้วทดสอบทีเดียว

จากนั้นเราจะเพิ่มส่วนคำนวณคำตอบในกรณีที่คำตอบเป็น complex ในเมท็อด SolveAndOutput (ในส่วน else)

ขยาย

เขียนเพิ่มเติมในเมท็อด SolveAndOutput

โค้ดที่เหลือกรณีทีคำตอบเป็น complex (และไม่เป็นจำนวนจริง) เขียนคล้าย ๆ เดิม แต่ในการคืนคำตอบจะคืนสองคำตอบแยกเป็นส่วน real part และ imaginary part เราเลือกที่จะคำนวณคำตอบสองคำตอบให้เรียบร้อยใน FindComplexSolutions เลย แม้ว่าจะดูว่าเป็นการทำงานซ้ำซ้อน (เพราะว่า real part เท่ากัน) แต่เนื่องจากเราไม่ต้องการให้เงื่อนไขและรายละเอียดดังกล่าวไปปะปนอยู่ในส่วนแสดงผลลัพธ์

ขยาย

ด้านล่างเป็นเมท็อด FindComplexSolutions และ OutputComplexSolutions

คิดค่าส่งไปรษณีย์

ขยาย

แสดงการแบ่งงานเป็นหลายกรณี

โครงสร้างคำสั่งแบบทางเลือกหลายชั้น

  • ไม่ต้องสอน switch/case
  • ใช้ flow-chart และตัวอย่างเยอะ ๆ

ตัวอย่างโปรแกรม

คำนวณค่ามากที่สุดของจำนวนสามจำนวน

ขยาย

แสดงตัวอย่างการเขียนใน 8 รูปแบบ (ถ้าไม่ได้สอน expression ที่ใช้ ?: คงไม่ต้องยกตัวอย่างรูปแบบที่ 7/8)

โครงสร้างคำสั่งแบบวนซ้ำ

Notes: while, do-while ใช้ flow-chart ช่วย, แทรก ++/-- ณ จุดนี้

โครงสร้างคำสั่งแบบวนซ้ำและอาร์เรย์ 1 มิติ

Notes: for-loop, ใช้ flow chart ไฟล์อินพุต

ตัวอย่างโปรแกรม

คำนวณผลรวมของจำนวนเต็ม 5 จำนวน (ไม่ใช้ array)

ขยาย

สองตัวอย่างแรกจะใช้เพื่อแสดงความจำเป็นของการใช้อาร์เรย์

คำนวณผลรวมของจำนวนเต็ม 10 จำนวน (ไม่ใช้ array)

ขยาย

เอาโปรแกรมเดิมมาแก้ให้เป็น 10 ตัวแปร

คำนวณผลรวมของจำนวนเต็ม 10 จำนวน (ใช้ array + while loop)

ขยาย

ประกาศตัวแปรแบบ array และคำนวณผลรวม

คำนวณผลรวมของจำนวนเต็ม 10 จำนวน (ใช้ array + for loop)

ขยาย

ประกาศตัวแปรแบบ array และคำนวณผลรวม

คำนวณผลรวมของจำนวนเต็ม 10 จำนวน (ใช้ array + for loop + โปรแกรมย่อย)

ถ้ายังไม่สอนตอนนี้ ก็ข้ามตัวอย่างนี้ไปก่อนได้ครับ

ขยาย

ประกาศตัวแปรแบบ array และคำนวณผลรวม โดยแบ่งงานเป็นส่วน ๆ ด้วยโปรแกรมย่อย

โครงสร้างคำสั่งแบบวนซ้ำหลายชั้น

Notes: continue และ break

โปรแกรมย่อยขั้นสูง

Notes: เช่น pass by reference, ส่ง array เข้าเมท็อด, string processing

อาเรย์หลายมิติ

Notes: นำเข้าข้อมูลจาก csv

การแก้โจทย์เชิงประยุกต์

Notes: เสริมเนื้อหาเช่น GUI