ผลต่างระหว่างรุ่นของ "418383 ภาคปลาย 2552/ระบบภาคเคลื่อนไหวสองมิติ"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(สร้างหน้าใหม่: เอกสารนี้เขียนขึ้นเพื่ออธิบายวิธีการเก็บข้อมูลภาพเคล...)
 
แถว 2: แถว 2:
  
 
== สไปรต์ (Sprite) ==
 
== สไปรต์ (Sprite) ==
เป็นที่ทราบกันดีว่าเราสามารถสร้างภาพเคลื่อนไหวได้จากการนำภาพนิ่งหลายๆ ภาพมาแสดงต่อเนื่องกันอย่างรวดเร็ว ในเกมที่มีการแสดงผลเป็นภาพสองมิติ ศิลปินจะวาดภาพนิ่งที่เรียกว่า ''สไปรต์'' (sprite) แล้วนำสไปรต์หลายๆ ภาพมาประกอบกันเป็นฉากและภาพเคลื่อนไหว โดยศิลปินมักจะรวมสไปรต์ที่มีความเกี่ยวเนื่องกันไว้ในไฟล์ภาพใหญ่ๆ ไฟล์หนึ่งที่เรียกว่า ''สไปรต์ชีต'' (sprite sheet) ยกตัวอย่างเช่น
+
เป็นที่ทราบกันดีว่าเราสามารถสร้างภาพเคลื่อนไหวได้จากการนำภาพนิ่งหลายๆ ภาพมาแสดงต่อเนื่องกันอย่างรวดเร็ว ในเกมที่มีการแสดงผลเป็นภาพสองมิติ ศิลปินจะวาดภาพนิ่งที่เรียกว่า ''สไปรต์'' (sprite) แล้วนำสไปรต์หลายๆ ภาพมาประกอบกันเป็นฉากและภาพเคลื่อนไหว เช่น
 +
 
 +
<center>
 +
[[Image:Tenshi-sword-01.jpg]] [[Image:Tenshi-sword-02.jpg]] [[Image:Tenshi-sword-03.jpg]] [[Image:Tenshi-sword-04.jpg]]<br/>
 +
''ภาพเคลื่อนไหวท่าฟันดาบ เกิดจากการนำสไปรต์สี่ภาพมาแสดงติดต่อกัน''
 +
</center>
 +
 
 +
โดยศิลปินมักจะรวมสไปรต์ที่มีความเกี่ยวเนื่องกันไว้ในไฟล์ภาพใหญ่ๆ ไฟล์หนึ่งที่เรียกว่า ''สไปรต์ชีต'' (sprite sheet) ยกตัวอย่างเช่น

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:16, 11 มิถุนายน 2552

เอกสารนี้เขียนขึ้นเพื่ออธิบายวิธีการเก็บข้อมูลภาพเคลื่อนไหวสองมิติที่จะนำไปใช้ในการเขียนเกมในวิชา 418383: การโปรแกรมเกม รวมถึงอธิบายรูปแบบของไฟล์ที่ใช้เก็บข้อมูลเหล่านี้ด้วย

สไปรต์ (Sprite)

เป็นที่ทราบกันดีว่าเราสามารถสร้างภาพเคลื่อนไหวได้จากการนำภาพนิ่งหลายๆ ภาพมาแสดงต่อเนื่องกันอย่างรวดเร็ว ในเกมที่มีการแสดงผลเป็นภาพสองมิติ ศิลปินจะวาดภาพนิ่งที่เรียกว่า สไปรต์ (sprite) แล้วนำสไปรต์หลายๆ ภาพมาประกอบกันเป็นฉากและภาพเคลื่อนไหว เช่น

Tenshi-sword-01.jpg Tenshi-sword-02.jpg Tenshi-sword-03.jpg Tenshi-sword-04.jpg
ภาพเคลื่อนไหวท่าฟันดาบ เกิดจากการนำสไปรต์สี่ภาพมาแสดงติดต่อกัน

โดยศิลปินมักจะรวมสไปรต์ที่มีความเกี่ยวเนื่องกันไว้ในไฟล์ภาพใหญ่ๆ ไฟล์หนึ่งที่เรียกว่า สไปรต์ชีต (sprite sheet) ยกตัวอย่างเช่น