ผลต่างระหว่างรุ่นของ "418383 ภาคปลาย 2552/ระบบภาคเคลื่อนไหวสองมิติ"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 2: แถว 2:
  
 
== สไปรต์ (Sprite) ==
 
== สไปรต์ (Sprite) ==
เป็นที่ทราบกันดีว่าเราสามารถสร้างภาพเคลื่อนไหวได้จากการนำภาพนิ่งหลายๆ ภาพมาแสดงต่อเนื่องกันอย่างรวดเร็ว ในเกมที่มีการแสดงผลเป็นภาพสองมิติ ศิลปินจะวาดภาพนิ่งที่เรียกว่า ''สไปรต์'' (sprite) แล้วนำสไปรต์หลายๆ ภาพมาประกอบกันเป็นฉากและภาพเคลื่อนไหว เช่นในภาพที่ 1 ศิลปิน (หรีือผู้ทำการรวบรวมสไปรต์จากเกมต่างๆ) มักจะรวมสไปรต์ที่มีความเกี่ยวเนื่องกันไว้ในไฟล์ภาพใหญ่ๆ ไฟล์หนึ่งที่เรียกว่า ''สไปรต์ชีต'' (sprite sheet) เช่นในภาพที่ 2 ปัจจุบันมีเวบไซต์ที่รวบรวมสไปรต์จากเกมต่างๆ และเผยแพร่ให้คนนำเอาไปใช้สร้างการ์ตูนหรือเกมอยู่มากมาย เช่น [http://sdb.drshnaps.com Sprite Database] หรือ [http://spriters-resource.com/ Spriter's Resource]
+
เป็นที่ทราบกันดีว่าเราสามารถสร้างภาพเคลื่อนไหวได้จากการนำภาพนิ่งหลายๆ ภาพมาแสดงต่อเนื่องกันอย่างรวดเร็ว ในเกมที่มีการแสดงผลเป็นภาพสองมิติ ศิลปินจะวาดภาพนิ่งที่เรียกว่า ''สไปรต์'' (sprite) แล้วนำสไปรต์หลายๆ ภาพมาประกอบกันเป็นฉากและภาพเคลื่อนไหว เช่นในภาพที่ 1 โดยศิลปิน (หรีือผู้ทำการรวบรวมสไปรต์จากเกมต่างๆ) มักจะรวมสไปรต์ที่มีความเกี่ยวเนื่องกันไว้ในไฟล์ภาพใหญ่ๆ ไฟล์หนึ่งที่เรียกว่า ''สไปรต์ชีต'' (sprite sheet) เช่นในภาพที่ 2
 +
 
 +
ในปัจจุบันมีเวบไซต์ที่รวบรวมสไปรต์จากเกมต่างๆ และเผยแพร่ให้คนนำเอาไปใช้สร้างการ์ตูนหรือเกมอยู่มากมาย เช่น [http://sdb.drshnaps.com Sprite Database] หรือ [http://spriters-resource.com/ Spriter's Resource] เป็นต้น
  
 
<center>
 
<center>
แถว 8: แถว 10:
 
'''ภาพที่ 1:''' ภาพเคลื่อนไหวท่าฟันดาบ เกิดจากการนำสไปรต์สี่ภาพมาแสดงติดต่อกัน
 
'''ภาพที่ 1:''' ภาพเคลื่อนไหวท่าฟันดาบ เกิดจากการนำสไปรต์สี่ภาพมาแสดงติดต่อกัน
 
</center>
 
</center>
 +
 
<center>
 
<center>
 
[[Image:SF2_ApolloFlame.png|400px]]<br/>
 
[[Image:SF2_ApolloFlame.png|400px]]<br/>
 
'''ภาพที่ 2:''' สไปรต์ชีตของตัวละคร Apollo Flame จากเกม Megaman Star Force 2
 
'''ภาพที่ 2:''' สไปรต์ชีตของตัวละคร Apollo Flame จากเกม Megaman Star Force 2
 
</center>
 
</center>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:46, 11 มิถุนายน 2552

เอกสารนี้เขียนขึ้นเพื่ออธิบายวิธีการเก็บข้อมูลภาพเคลื่อนไหวสองมิติที่จะนำไปใช้ในการเขียนเกมในวิชา 418383: การโปรแกรมเกม รวมถึงอธิบายรูปแบบของไฟล์ที่ใช้เก็บข้อมูลเหล่านี้ด้วย

สไปรต์ (Sprite)

เป็นที่ทราบกันดีว่าเราสามารถสร้างภาพเคลื่อนไหวได้จากการนำภาพนิ่งหลายๆ ภาพมาแสดงต่อเนื่องกันอย่างรวดเร็ว ในเกมที่มีการแสดงผลเป็นภาพสองมิติ ศิลปินจะวาดภาพนิ่งที่เรียกว่า สไปรต์ (sprite) แล้วนำสไปรต์หลายๆ ภาพมาประกอบกันเป็นฉากและภาพเคลื่อนไหว เช่นในภาพที่ 1 โดยศิลปิน (หรีือผู้ทำการรวบรวมสไปรต์จากเกมต่างๆ) มักจะรวมสไปรต์ที่มีความเกี่ยวเนื่องกันไว้ในไฟล์ภาพใหญ่ๆ ไฟล์หนึ่งที่เรียกว่า สไปรต์ชีต (sprite sheet) เช่นในภาพที่ 2

ในปัจจุบันมีเวบไซต์ที่รวบรวมสไปรต์จากเกมต่างๆ และเผยแพร่ให้คนนำเอาไปใช้สร้างการ์ตูนหรือเกมอยู่มากมาย เช่น Sprite Database หรือ Spriter's Resource เป็นต้น

Tenshi-sword-01.jpg Tenshi-sword-02.jpg Tenshi-sword-03.jpg Tenshi-sword-04.jpg
ภาพที่ 1: ภาพเคลื่อนไหวท่าฟันดาบ เกิดจากการนำสไปรต์สี่ภาพมาแสดงติดต่อกัน

SF2 ApolloFlame.png
ภาพที่ 2: สไปรต์ชีตของตัวละคร Apollo Flame จากเกม Megaman Star Force 2