ผลต่างระหว่างรุ่นของ "418531 ภาคต้น 2552/โจทย์ปัญหาการพิสูจน์ I/เฉลยข้อ 6"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
 
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 37: แถว 37:
 
</tr>
 
</tr>
 
</table>
 
</table>
 +
 +
== ข้อ 3 ==
 +
<math>(\rightarrow)</math> สมมติให้ <math>A \subseteq B</math> และสมมติให้ <math>X</math> เป็นสมาชิกใดๆ ของ <math>P(A)</math> เราได้ว่า <math>X \subseteq A</math>
 +
 +
เนื่องจาก <math>A \subseteq B</math> เราได้ว่า <math>X \subseteq B</math> ด้วย ฉะนั้น <math>X \in P(B)</math>
 +
 +
เนื่องจาก <math>X</math> เป็นสมาชิกใดๆ ของ <math>P(A)</math> เราจึงสรุปได้ว่า <math>P(A) \subseteq P(B)</math>
 +
 +
<math>(\leftarrow)</math> สมมติให้ <math>A \not\subseteq B</math> แสดงว่ามีสมาชิก <math>x \,</math> อย่างน้อยหนึ่งตัวที่ <math>x \in A</math> แต่ <math>x \not\in B</math>
 +
 +
เราได้ว่า <math>\{ x \} \subseteq A</math> ดังนั้น <math>\{ x \} \in P(A)</math> แต่ <math>\{ x \} \not\subseteq B</math> ดังนั้น <math>\{ x \} \not\in P(B)</math>
 +
 +
ฉะนั้นเราจึงสามารถสรุปได้ว่า <math>P(A) \not\subseteq P(B)</math>
 +
 +
== ข้อ 4 ==
 +
เราจะใช้ทฤษฎีบทต่อไปนี้:
 +
: '''ทฤษฏีบท''' ถ้า p เป็นจำนวนเฉพาะและถ้า p หาร mn ลงตัวเมื่อ m และ n เป็นจำนวนเต็มแล้ว p หาร m หรือ p หาร n ลงตัว
 +
 +
<math>(\rightarrow)</math> สมมติว่า 15 หาร n ลงตัว ให้ k เป็นจำนวนเต็มที่ทำให้ <math>n = 15k</math> เราได้ว่า <math>n = 3(5k) = 5(3k)</math> ดังนั้น 3 หาร n ลงตัวและ 5 หาร n ตัว
 +
 +
<math>(\leftarrow)</math> สมมติให้ 3 หาร n ลงตัวและ 5 หาร n ลงตัว ให้ k เป็นจำนวนเต็มที่ทำให้ <math>n = 3k</math>
 +
 +
เนื่องจาก 5 หาร n ลงตัว 5 ต้องหาร 3k ลงตัวด้วย
 +
 +
ใช้ทฤษฎีบทข้างบน เราได้ว่า 5 ต้องหาร 3 ลงตัว หรือไม่ 5 ต้องหาร k ลงตัว แต่เนื่องจาก 5 หาร 3 ไม่ลงตัว เราได้ว่า 5 ต้องหา k ลงตัว ฉะนั้นให้ m เป็นจำนวนเต็มที่ทำให้ <math>k = 5m</math> กล่าวคือ <math>n = 3k = 3(5m) = 15m</math> ดังนั้น 15 หาร n ลงตัว
 +
 +
== ข้อ 5 ==
 +
ให้ a และ b เป็นจำนวนเต็ม ให้ c = ab เราจะได้ว่า a หาร c ลงตัว และ b หาร c ลงตัว

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 19:27, 27 มิถุนายน 2552

ข้อ 1

สมมติว่า n เป็นจำนวนเต็มคู่ ให้ k เป็นจำนวนเต็มที่ทำให้ เราจะได้ว่า ดังนั้น ก็เป็นจำนวนเต็มคู่ด้วยเช่นกัน

สมมติว่า n เป็นจำนวนเต็มคี่ ให้ k เป็นจำนวนเต็มที่ทำให้ เราจะได้ว่า ดังนั้น ก็เป็นจำนวนเต็มคี่ด้วยเช่นกัน

ข้อ 2

ให้ x เป็นจำนวนจริงใดๆ เราจะแสดงว่ามีจำนวนเต็ม y ที่ทำให้ ก็ต่อเมื่อ

สมมติว่า เราได้ว่า เกิดข้อขัดแย้งไม่มี y จะมีค่าเท่าใดก็ตาม ฉะนั้นเราสามารถสรุปได้ว่าถ้ามีจำนวนเต็ม y ที่ทำให้ แล้ว

สมมติว่า ให้ เราได้ว่า

ข้อ 3

สมมติให้ และสมมติให้ เป็นสมาชิกใดๆ ของ เราได้ว่า

เนื่องจาก เราได้ว่า ด้วย ฉะนั้น

เนื่องจาก เป็นสมาชิกใดๆ ของ เราจึงสรุปได้ว่า

สมมติให้ แสดงว่ามีสมาชิก อย่างน้อยหนึ่งตัวที่ แต่

เราได้ว่า ดังนั้น แต่ ดังนั้น

ฉะนั้นเราจึงสามารถสรุปได้ว่า

ข้อ 4

เราจะใช้ทฤษฎีบทต่อไปนี้:

ทฤษฏีบท ถ้า p เป็นจำนวนเฉพาะและถ้า p หาร mn ลงตัวเมื่อ m และ n เป็นจำนวนเต็มแล้ว p หาร m หรือ p หาร n ลงตัว

สมมติว่า 15 หาร n ลงตัว ให้ k เป็นจำนวนเต็มที่ทำให้ เราได้ว่า ดังนั้น 3 หาร n ลงตัวและ 5 หาร n ตัว

สมมติให้ 3 หาร n ลงตัวและ 5 หาร n ลงตัว ให้ k เป็นจำนวนเต็มที่ทำให้

เนื่องจาก 5 หาร n ลงตัว 5 ต้องหาร 3k ลงตัวด้วย

ใช้ทฤษฎีบทข้างบน เราได้ว่า 5 ต้องหาร 3 ลงตัว หรือไม่ 5 ต้องหาร k ลงตัว แต่เนื่องจาก 5 หาร 3 ไม่ลงตัว เราได้ว่า 5 ต้องหา k ลงตัว ฉะนั้นให้ m เป็นจำนวนเต็มที่ทำให้ กล่าวคือ ดังนั้น 15 หาร n ลงตัว

ข้อ 5

ให้ a และ b เป็นจำนวนเต็ม ให้ c = ab เราจะได้ว่า a หาร c ลงตัว และ b หาร c ลงตัว