ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การติดตั้ง Arduino IDE และเครื่องมือที่เกี่ยวข้อง"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
 
(ไม่แสดง 21 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 1: แถว 1:
= การติดตั้ง Arduino IDE =
+
: ''วิกินี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา [[01204223]]''
 +
 
 +
: <span style="color:red;">วิกินี้มีเนื้อหาครอบคลุม Arduino IDE เวอร์ชันเก่า (1.0.x) สำหรับ Arduino IDE 1.6.x เป็นต้นมาให้ดูรายละเอียดจากวิกิ [[การพัฒนาเฟิร์มแวร์ด้วย Arduino IDE]]</span>
 +
 
 +
== การติดตั้ง Arduino IDE ==
 
* สำหรับ Ubuntu ใช้คำสั่ง apt-get ดังนี้
 
* สำหรับ Ubuntu ใช้คำสั่ง apt-get ดังนี้
  
แถว 6: แถว 10:
 
* สำหรับ MAC OS X และระบบปฏิบัติการอื่น ๆ ดาวน์โหลด Arduino IDE เวอร์ชัน 1.0.x ล่าสุดจากเว็บ [http://arduino.cc/en/main/software http://arduino.cc/en/main/software]
 
* สำหรับ MAC OS X และระบบปฏิบัติการอื่น ๆ ดาวน์โหลด Arduino IDE เวอร์ชัน 1.0.x ล่าสุดจากเว็บ [http://arduino.cc/en/main/software http://arduino.cc/en/main/software]
  
= การติดตั้งไฟล์บอร์ดและไลบรารีสำหรับวิชา Practicum =
+
== การติดตั้งไฟล์บอร์ดและไลบรารีสำหรับวิชา Practicum ==
 
เพื่อให้ Arduino IDE รู้จักบอร์ด Practicum และเรียกใช้งานขาอินพุท/เอาท์พุทได้สะดวก ดาวน์โหลดไฟล์ติดตั้งเพิ่มเติมอีกสองไฟล์
 
เพื่อให้ Arduino IDE รู้จักบอร์ด Practicum และเรียกใช้งานขาอินพุท/เอาท์พุทได้สะดวก ดาวน์โหลดไฟล์ติดตั้งเพิ่มเติมอีกสองไฟล์
  
แถว 18: แถว 22:
 
  cd ~/sketchbook/hardware/practicum
 
  cd ~/sketchbook/hardware/practicum
 
  wget http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/boards.txt
 
  wget http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/boards.txt
 +
 +
* สำหรับ MAC OS X
 +
 +
mkdir -p ~/Documents/Arduino/libraries/Practicum
 +
cd ~/Documents/Arduino/libraries/Practicum
 +
wget http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/Practicum.h
 +
 +
mkdir -p ~/Documents/Arduino/hardware/practicum
 +
cd ~/Documents/Arduino/hardware/practicum
 +
wget http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/boards.txt
 +
 +
ทดลองเรียกโปรแกรม arduino (ถ้าเปิดโปรแกรมอยู่ให้ปิดแล้วเปิดใหม่) และตรวจสอบเมนู Sketch &rarr; Import Library จะต้องเห็นไลบรารี Practicum อยู่บริเวณด้านล่างของรายการ ดังรูป
 +
 +
[[Image:arduino-library.png|center|400px|thumb]]
 +
 +
และในเมนู Tools &rarr; Board จะแสดงชื่อบอร์ด Practicum Board, CPE, KU ที่ด้านบนสุดของรายการ ดังรูป
 +
 +
[[Image:arduino-board.png|center|400px|thumb]]
 +
 +
== การติดตั้งเครื่องมือและไลบรารีอื่น ๆ ==
 +
ไลบรารีและเครื่องมือเหล่านี้ถูกนำมาใช้ในรายวิชาในภายหลัง แต่สามารถติดตั้งเอาไว้ก่อนล่วงหน้าได้
 +
 +
=== Arduino Makefile ===
 +
ใช้สำหรับคอมไพล์และอัพโหลดเฟิร์มแวร์โดยใช้คำสั่ง <tt>make</tt> ในเทอร์มินัล
 +
 +
* สำหรับ Ubuntu Linux
 +
 +
sudo apt-get install arduino-mk
 +
 +
* สำหรับ MAC OS X และระบบปฏิบัติการอื่นให้ดูวิธีการติดตั้งจากเว็บ [https://github.com/sudar/Arduino-Makefile#installation https://github.com/sudar/Arduino-Makefile#installation]
 +
 +
ดูรายละเอียดการใช้งานเพิ่มเติมได้จากวิกิ [[การใช้ Arduino Makefile]]
 +
 +
=== ไลบรารี Protothreads ===
 +
รวบรวมมาโครที่ทำให้โค้ดโปรแกรมแบบมัลติทาสกิ้งดูง่ายขึ้นกว่าการเขียนโค้ดตามแบบเครื่องจักรสถานะโดยตรง
 +
 +
* สำหรับ Ubuntu ดาวน์โหลดไฟล์ไลบรารีมาแตกเอาไว้ในไดเรคตอรี <tt>~/sketchbook/libraries/</tt> โดยพิมพ์ใช้คำสั่งต่อไปนี้ในเทอร์มินัล
 +
cd ~/sketchbook/libraries/
 +
wget -O - http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/pt.tgz | tar zxf -
 +
 +
* สำหรับ MAC OS X ดาวน์โหลดไฟล์ไลบรารีมาแตกเอาไว้ในไดเรคตอรี <tt>~/Documents/Arduino/libraries/</tt> โดยพิมพ์ใช้คำสั่งต่อไปนี้ในเทอร์มินัล
 +
cd ~/Documents/Arduino/libraries/
 +
wget -O - http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/pt.tgz | tar zxf -
 +
 +
ศึกษารายละเอียดการใช้งานเพิ่มเติมได้จากวิกิ [[มัลติทาสกิ้งด้วยไลบรารี Protothreads]]
 +
 +
=== ไลบรารี V-USB ===
 +
ใช้สำหรับจำลองบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ให้เป็นอุปกรณ์ USB โดยอาศัยซอฟต์แวร์ล้วน
 +
 +
* สำหรับ Ubuntu ดาวน์โหลดไฟล์ไลบรารีมาแตกเอาไว้ในไดเรคตอรี <tt>~/sketchbook/libraries/</tt> โดยพิมพ์ใช้คำสั่งต่อไปนี้ในเทอร์มินัล
 +
cd ~/sketchbook/libraries/
 +
wget -O - http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/vusb.tgz | tar zxf -
 +
 +
* สำหรับ MAC OS X ดาวน์โหลดไฟล์ไลบรารีมาแตกเอาไว้ในไดเรคตอรี <tt>~/Documents/Arduino/libraries/</tt> โดยพิมพ์ใช้คำสั่งต่อไปนี้ในเทอร์มินัล
 +
cd ~/Documents/Arduino/libraries/
 +
wget -O - http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/vusb.tgz | tar zxf -
 +
 +
ไฟล์จะถูกแตกไว้ในไดเรคตอรีย่อยชื่อ <tt>usbdrv</tt>
 +
 +
ศึกษารายละเอียดการใช้งานเพิ่มเติมได้จากวิกิ [[การจำลองบอร์ด MCU เป็นอุปกรณ์ USB บน Arduino]]
 +
 +
== ทดสอบการพัฒนาเฟิร์มแวร์ ==
 +
ทดลองพิมพ์โค้ดต่อไปนี้
 +
 +
<syntaxhighlight lang="C">
 +
#include <Practicum.h>
 +
 +
void setup()
 +
{
 +
  pinMode(PIN_PD3, OUTPUT);
 +
}
 +
 +
void loop()
 +
{
 +
  digitalWrite(PIN_PD3, LOW);
 +
  delay(500);
 +
  digitalWrite(PIN_PD3, HIGH);
 +
  delay(500);
 +
}
 +
</syntaxhighlight>
 +
 +
กดปุ่ม Reset บนบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่อเข้าสู่บูทโหลดเดอร์ แล้วเลือกเมนู File &rarr; Upload ไฟ LED สีเขียวบนเมนบอร์ดจะกระพริบเป็นจังหวะทุก ๆ หนึ่งวินาที

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 08:23, 16 กันยายน 2558

วิกินี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 01204223
วิกินี้มีเนื้อหาครอบคลุม Arduino IDE เวอร์ชันเก่า (1.0.x) สำหรับ Arduino IDE 1.6.x เป็นต้นมาให้ดูรายละเอียดจากวิกิ การพัฒนาเฟิร์มแวร์ด้วย Arduino IDE

การติดตั้ง Arduino IDE

  • สำหรับ Ubuntu ใช้คำสั่ง apt-get ดังนี้
sudo apt-get install arduino
  • สำหรับ MAC OS X และระบบปฏิบัติการอื่น ๆ ดาวน์โหลด Arduino IDE เวอร์ชัน 1.0.x ล่าสุดจากเว็บ http://arduino.cc/en/main/software

การติดตั้งไฟล์บอร์ดและไลบรารีสำหรับวิชา Practicum

เพื่อให้ Arduino IDE รู้จักบอร์ด Practicum และเรียกใช้งานขาอินพุท/เอาท์พุทได้สะดวก ดาวน์โหลดไฟล์ติดตั้งเพิ่มเติมอีกสองไฟล์

  • สำหรับ Ubuntu
mkdir -p ~/sketchbook/libraries/Practicum
cd ~/sketchbook/libraries/Practicum
wget http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/Practicum.h
mkdir -p ~/sketchbook/hardware/practicum
cd ~/sketchbook/hardware/practicum
wget http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/boards.txt
  • สำหรับ MAC OS X
mkdir -p ~/Documents/Arduino/libraries/Practicum
cd ~/Documents/Arduino/libraries/Practicum
wget http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/Practicum.h
mkdir -p ~/Documents/Arduino/hardware/practicum
cd ~/Documents/Arduino/hardware/practicum
wget http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/boards.txt

ทดลองเรียกโปรแกรม arduino (ถ้าเปิดโปรแกรมอยู่ให้ปิดแล้วเปิดใหม่) และตรวจสอบเมนู Sketch → Import Library จะต้องเห็นไลบรารี Practicum อยู่บริเวณด้านล่างของรายการ ดังรูป

Arduino-library.png

และในเมนู Tools → Board จะแสดงชื่อบอร์ด Practicum Board, CPE, KU ที่ด้านบนสุดของรายการ ดังรูป

Arduino-board.png

การติดตั้งเครื่องมือและไลบรารีอื่น ๆ

ไลบรารีและเครื่องมือเหล่านี้ถูกนำมาใช้ในรายวิชาในภายหลัง แต่สามารถติดตั้งเอาไว้ก่อนล่วงหน้าได้

Arduino Makefile

ใช้สำหรับคอมไพล์และอัพโหลดเฟิร์มแวร์โดยใช้คำสั่ง make ในเทอร์มินัล

  • สำหรับ Ubuntu Linux
sudo apt-get install arduino-mk

ดูรายละเอียดการใช้งานเพิ่มเติมได้จากวิกิ การใช้ Arduino Makefile

ไลบรารี Protothreads

รวบรวมมาโครที่ทำให้โค้ดโปรแกรมแบบมัลติทาสกิ้งดูง่ายขึ้นกว่าการเขียนโค้ดตามแบบเครื่องจักรสถานะโดยตรง

  • สำหรับ Ubuntu ดาวน์โหลดไฟล์ไลบรารีมาแตกเอาไว้ในไดเรคตอรี ~/sketchbook/libraries/ โดยพิมพ์ใช้คำสั่งต่อไปนี้ในเทอร์มินัล
cd ~/sketchbook/libraries/ 
wget -O - http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/pt.tgz | tar zxf -
  • สำหรับ MAC OS X ดาวน์โหลดไฟล์ไลบรารีมาแตกเอาไว้ในไดเรคตอรี ~/Documents/Arduino/libraries/ โดยพิมพ์ใช้คำสั่งต่อไปนี้ในเทอร์มินัล
cd ~/Documents/Arduino/libraries/ 
wget -O - http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/pt.tgz | tar zxf -

ศึกษารายละเอียดการใช้งานเพิ่มเติมได้จากวิกิ มัลติทาสกิ้งด้วยไลบรารี Protothreads

ไลบรารี V-USB

ใช้สำหรับจำลองบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ให้เป็นอุปกรณ์ USB โดยอาศัยซอฟต์แวร์ล้วน

  • สำหรับ Ubuntu ดาวน์โหลดไฟล์ไลบรารีมาแตกเอาไว้ในไดเรคตอรี ~/sketchbook/libraries/ โดยพิมพ์ใช้คำสั่งต่อไปนี้ในเทอร์มินัล
cd ~/sketchbook/libraries/ 
wget -O - http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/vusb.tgz | tar zxf -
  • สำหรับ MAC OS X ดาวน์โหลดไฟล์ไลบรารีมาแตกเอาไว้ในไดเรคตอรี ~/Documents/Arduino/libraries/ โดยพิมพ์ใช้คำสั่งต่อไปนี้ในเทอร์มินัล
cd ~/Documents/Arduino/libraries/ 
wget -O - http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/vusb.tgz | tar zxf -

ไฟล์จะถูกแตกไว้ในไดเรคตอรีย่อยชื่อ usbdrv

ศึกษารายละเอียดการใช้งานเพิ่มเติมได้จากวิกิ การจำลองบอร์ด MCU เป็นอุปกรณ์ USB บน Arduino

ทดสอบการพัฒนาเฟิร์มแวร์

ทดลองพิมพ์โค้ดต่อไปนี้

#include <Practicum.h>

void setup()
{
  pinMode(PIN_PD3, OUTPUT);
}

void loop()
{
  digitalWrite(PIN_PD3, LOW);
  delay(500);
  digitalWrite(PIN_PD3, HIGH);
  delay(500);
}

กดปุ่ม Reset บนบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่อเข้าสู่บูทโหลดเดอร์ แล้วเลือกเมนู File → Upload ไฟ LED สีเขียวบนเมนบอร์ดจะกระพริบเป็นจังหวะทุก ๆ หนึ่งวินาที