ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลไกบูทโหลดเดอร์และการโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่าน UART"
Chaiporn (คุย | มีส่วนร่วม) |
Chaiporn (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 10 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
ชิปไมโครคอนโทรลเลอร์ที่นำมาใช้นั้นต้องอาศัยการโปรแกรมผ่านเครื่องโปรแกรมชิป วิกินี้จะอธิบายถึงการเตรียมและบรรจุบูทโหลดเดอร์ลงไปในชิปเพื่อให้ตัวชิปสามารถโหลดโปรแกรมผ่านทางพอร์ทอนุกรมของคอมพิวเตอร์โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องโปรแกรมชิปอีกต่อไป | ชิปไมโครคอนโทรลเลอร์ที่นำมาใช้นั้นต้องอาศัยการโปรแกรมผ่านเครื่องโปรแกรมชิป วิกินี้จะอธิบายถึงการเตรียมและบรรจุบูทโหลดเดอร์ลงไปในชิปเพื่อให้ตัวชิปสามารถโหลดโปรแกรมผ่านทางพอร์ทอนุกรมของคอมพิวเตอร์โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องโปรแกรมชิปอีกต่อไป | ||
− | + | == บูทโหลดเดอร์สำหรับชิป AVR == | |
ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับ Self-Programming บนชิป AVR และดาวน์โหลดโปรแกรมตัวอย่างจากลิ้งค์ต่อไปนี้ | ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับ Self-Programming บนชิป AVR และดาวน์โหลดโปรแกรมตัวอย่างจากลิ้งค์ต่อไปนี้ | ||
* [http://www.atmel.com/images/doc1644.pdf เอกสาร AVR109 Application Notes ของ Atmel] | * [http://www.atmel.com/images/doc1644.pdf เอกสาร AVR109 Application Notes ของ Atmel] | ||
* [http://www.atmel.com/Images/AVR109.zip ซอร์สโค้ดตัวอย่างตามเอกสาร AVR109] | * [http://www.atmel.com/Images/AVR109.zip ซอร์สโค้ดตัวอย่างตามเอกสาร AVR109] | ||
− | == | + | == ปรับแก้ไขการตั้งค่าของบูทโหลดเดอร์ == |
− | + | โค้ดตัวอย่างจาก Atmel มาพร้อมกับเชลล์สคริปต์ <tt>preprocessor.sh</tt> (กรณีที่ใช้ยูนิกซ์) และไฟล์ Microsoft Excel <tt>preprocessor.xls</tt> (กรณีที่มีโปรแกรม Excel) ที่ใช้สำหรับสร้างไฟล์ <tt>defines.h</tt> ขึ้นมาเพื่อควบคุมการสร้างบูทโหลดเดอร์ให้สอดคล้องกับวงจรที่ออกแบบขึ้น เมื่อได้ไฟล์ <tt>defines.h</tt> แล้วให้เพิ่มคำสั่งสองบรรทัดนี้เข้าไปที่ท้ายสุดของไฟล์ เนื่องจากชิป ATMega168 ใช้ชื่อบิตสำหรับควบคุมการเขียน EEPROM ที่แตกต่างไปจากชิปตระกูล AVR เบอร์อื่น ๆ | |
− | + | #define EEMWE EEMPE | |
− | + | #define EEWE EEPE | |
− | + | == แก้ไขฟิวส์ของชิปไมโครคอนโทรลเลอร์ == | |
− | + | ชิป ATmega168 ต้องมีการปรับการตั้งค่าเพื่อให้ตัวชิปเริ่มต้นทำงานในพื้นที่บูทโหลดเดอร์แทนที่จะเริ่มทำงานในพื้นที่แอพลิเคชัน การตั้งค่าทำได้โดยการกำหนดค่าฟิวส์ในตัวชิปตามแผนผังด้านล่าง | |
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | + | --------------------------------------------------------------------- | |
+ | ATMega88, ATMega168 | ||
+ | --------------------------------------------------------------------- | ||
+ | Fuse extended byte: | ||
+ | 0x00 = 0 0 0 0 0 0 0 0 <-- BOOTRST (boot reset vector at 0x1800) | ||
+ | \+/ | ||
+ | +------- BOOTSZ (00 = 2k bytes) | ||
+ | Fuse high byte: | ||
+ | 0xd6 = 1 1 0 1 0 1 1 0 | ||
+ | ^ ^ ^ ^ ^ \-+-/ | ||
+ | | | | | | +------ BODLEVEL 0..2 (110 = 1.8 V) | ||
+ | | | | | + --------- EESAVE (preserve EEPROM over chip erase) | ||
+ | | | | +-------------- WDTON (if 0: watchdog always on) | ||
+ | | | +---------------- SPIEN (allow serial programming) | ||
+ | | +------------------ DWEN (debug wire enable) | ||
+ | +-------------------- RSTDISBL (reset pin is enabled) | ||
+ | Fuse low byte: | ||
+ | 0xdf = 1 1 0 1 1 1 1 1 | ||
+ | ^ ^ \ / \--+--/ | ||
+ | | | | +------- CKSEL 3..0 (external >8M crystal) | ||
+ | | | +--------------- SUT 1..0 (crystal osc, BOD enabled) | ||
+ | | +------------------ CKOUT (if 0: Clock output enabled) | ||
+ | +-------------------- CKDIV8 (if 0: divide by 8) | ||
+ | --------------------------------------------------------------------- | ||
− | + | บรรจุการตั้งค่าเหล่านี้ลงใน <tt>Makefile</tt> ที่มาพร้อมกับซอร์สโค้ด AVR109 โดยเพิ่มเติมบรรทัดที่ระบุว่า | |
− | + | ||
+ | AVRDUDE_WRITE_FLASH = -U flash:w:$(TARGET).hex | ||
+ | |||
+ | ให้เป็น | ||
+ | |||
+ | AVRDUDE_WRITE_FLASH = -U flash:w:$(TARGET).hex -U hfuse:w:0xd6:m -U lfuse:w:0xdf:m -U efuse:w:0x00:m | ||
+ | |||
+ | <tt>Makefile</tt> ที่ให้มานั้นระบุโพรโทคอลสำหรับเครื่องโปรแกรมชิปไว้เป็น STK500 กรณีที่ใช้เครื่องโปรแกรมชิปแบบอื่นให้แก้ไขการตั้งค่าตัวแปร <tt>AVRDUDE_PROGRAMMER</tt> ให้ถูกต้อง | ||
+ | |||
+ | == ดัดแปลงบูทโหลดเดอร์ให้แสดงผลบน LED == | ||
+ | |||
+ | ซอร์สโค้ดบูทโหลดเดอร์ต้นฉบับนั้นไม่มีการสั่งให้แสดงผลใด ๆ เพื่อแสดงสถานะของบูทโหลดเดอร์ ให้ดัดแปลงไฟล์ <tt>main.c</tt> ดังแสดง | ||
+ | |||
+ | if( !(PROGPIN & (1<<PROG_NO)) ) // If PROGPIN is pulled low, enter programmingmode. | ||
+ | { | ||
+ | // เพิ่มโค้ดให้แสดงสถานะการเข้าสู่บูทโหลดเดอร์บน LED | ||
+ | : | ||
+ | |||
+ | |||
+ | |||
+ | == คอมไพล์บูทโหลดเดอร์และบรรจุลงชิป == | ||
+ | คอมไพล์บูทโหลดเดอร์ด้วยคำสั่ง <tt>make</tt> | ||
+ | |||
+ | make | ||
+ | |||
+ | จากนั้นต่อบอร์ดเข้ากับเครื่องโปรแกรมชิป แล้วสั่งอัพโหลดบูทโหลดเดอร์ลงชิปด้วยคำสั่ง | ||
+ | |||
+ | make program | ||
− | == | + | == ใช้งานบูทโหลดเดอร์ == |
− | + | เมื่อชิปไมโครคอนโทรลเลอร์บรรจุบูทโหลดเดอร์เอาไว้แล้วจะสามารถสั่งให้เข้าสู่บูทโหลดเดอร์เพื่อโปรแกรมตัวเองได้โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องโปรแกรมชิปโดยการทำให้ชิปอยู่ในสถานะที่ตรงกับเงื่อนไขที่กำหนดเอาไว้ใน <tt>defines.h</tt> (เช่นกดสวิตช์หรือเสียบจั๊มเปอร์ค้างไว้) ในระหว่างที่กดรีเซ็ท บูทโหลดเดอร์จะสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ด้วยอักขระคำสั่งผ่านพอร์ทอนุกรม เราจึงสามารถเขียนโปรแกรมที่อ่านรหัสภาษาเครื่องจากไฟล์ .hex เพื่อส่งไปเขียนบนหน่วยความจำแฟลชของไมโครคอนโทรลเลอร์ได้โดยง่าย | |
− | + | อย่างไรก็ตามเนื่องจากซอฟต์แวร์ avrdude มีความสามารถในการสื่อสารกับบูทโหลดเดอร์ตามเอกสาร AVR109 อยู่แล้ว จึงสามารถใช้ avrdude โปรแกรมชิปได้ทันทีโดยระบุโพรโทคอลการสื่อสารเป็น avr109 ดังตัวอย่าง | |
− | |||
− | |||
− | + | avrdude -p atmega168 -c avr109 -P /dev/ttyUSB0 -U flash:w:first.hex:i |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:44, 20 กรกฎาคม 2559
ชิปไมโครคอนโทรลเลอร์ที่นำมาใช้นั้นต้องอาศัยการโปรแกรมผ่านเครื่องโปรแกรมชิป วิกินี้จะอธิบายถึงการเตรียมและบรรจุบูทโหลดเดอร์ลงไปในชิปเพื่อให้ตัวชิปสามารถโหลดโปรแกรมผ่านทางพอร์ทอนุกรมของคอมพิวเตอร์โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องโปรแกรมชิปอีกต่อไป
เนื้อหา
บูทโหลดเดอร์สำหรับชิป AVR
ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับ Self-Programming บนชิป AVR และดาวน์โหลดโปรแกรมตัวอย่างจากลิ้งค์ต่อไปนี้
ปรับแก้ไขการตั้งค่าของบูทโหลดเดอร์
โค้ดตัวอย่างจาก Atmel มาพร้อมกับเชลล์สคริปต์ preprocessor.sh (กรณีที่ใช้ยูนิกซ์) และไฟล์ Microsoft Excel preprocessor.xls (กรณีที่มีโปรแกรม Excel) ที่ใช้สำหรับสร้างไฟล์ defines.h ขึ้นมาเพื่อควบคุมการสร้างบูทโหลดเดอร์ให้สอดคล้องกับวงจรที่ออกแบบขึ้น เมื่อได้ไฟล์ defines.h แล้วให้เพิ่มคำสั่งสองบรรทัดนี้เข้าไปที่ท้ายสุดของไฟล์ เนื่องจากชิป ATMega168 ใช้ชื่อบิตสำหรับควบคุมการเขียน EEPROM ที่แตกต่างไปจากชิปตระกูล AVR เบอร์อื่น ๆ
#define EEMWE EEMPE #define EEWE EEPE
แก้ไขฟิวส์ของชิปไมโครคอนโทรลเลอร์
ชิป ATmega168 ต้องมีการปรับการตั้งค่าเพื่อให้ตัวชิปเริ่มต้นทำงานในพื้นที่บูทโหลดเดอร์แทนที่จะเริ่มทำงานในพื้นที่แอพลิเคชัน การตั้งค่าทำได้โดยการกำหนดค่าฟิวส์ในตัวชิปตามแผนผังด้านล่าง
--------------------------------------------------------------------- ATMega88, ATMega168 --------------------------------------------------------------------- Fuse extended byte: 0x00 = 0 0 0 0 0 0 0 0 <-- BOOTRST (boot reset vector at 0x1800) \+/ +------- BOOTSZ (00 = 2k bytes) Fuse high byte: 0xd6 = 1 1 0 1 0 1 1 0 ^ ^ ^ ^ ^ \-+-/ | | | | | +------ BODLEVEL 0..2 (110 = 1.8 V) | | | | + --------- EESAVE (preserve EEPROM over chip erase) | | | +-------------- WDTON (if 0: watchdog always on) | | +---------------- SPIEN (allow serial programming) | +------------------ DWEN (debug wire enable) +-------------------- RSTDISBL (reset pin is enabled) Fuse low byte: 0xdf = 1 1 0 1 1 1 1 1 ^ ^ \ / \--+--/ | | | +------- CKSEL 3..0 (external >8M crystal) | | +--------------- SUT 1..0 (crystal osc, BOD enabled) | +------------------ CKOUT (if 0: Clock output enabled) +-------------------- CKDIV8 (if 0: divide by 8) ---------------------------------------------------------------------
บรรจุการตั้งค่าเหล่านี้ลงใน Makefile ที่มาพร้อมกับซอร์สโค้ด AVR109 โดยเพิ่มเติมบรรทัดที่ระบุว่า
AVRDUDE_WRITE_FLASH = -U flash:w:$(TARGET).hex
ให้เป็น
AVRDUDE_WRITE_FLASH = -U flash:w:$(TARGET).hex -U hfuse:w:0xd6:m -U lfuse:w:0xdf:m -U efuse:w:0x00:m
Makefile ที่ให้มานั้นระบุโพรโทคอลสำหรับเครื่องโปรแกรมชิปไว้เป็น STK500 กรณีที่ใช้เครื่องโปรแกรมชิปแบบอื่นให้แก้ไขการตั้งค่าตัวแปร AVRDUDE_PROGRAMMER ให้ถูกต้อง
ดัดแปลงบูทโหลดเดอร์ให้แสดงผลบน LED
ซอร์สโค้ดบูทโหลดเดอร์ต้นฉบับนั้นไม่มีการสั่งให้แสดงผลใด ๆ เพื่อแสดงสถานะของบูทโหลดเดอร์ ให้ดัดแปลงไฟล์ main.c ดังแสดง
if( !(PROGPIN & (1<<PROG_NO)) ) // If PROGPIN is pulled low, enter programmingmode. { // เพิ่มโค้ดให้แสดงสถานะการเข้าสู่บูทโหลดเดอร์บน LED :
คอมไพล์บูทโหลดเดอร์และบรรจุลงชิป
คอมไพล์บูทโหลดเดอร์ด้วยคำสั่ง make
make
จากนั้นต่อบอร์ดเข้ากับเครื่องโปรแกรมชิป แล้วสั่งอัพโหลดบูทโหลดเดอร์ลงชิปด้วยคำสั่ง
make program
ใช้งานบูทโหลดเดอร์
เมื่อชิปไมโครคอนโทรลเลอร์บรรจุบูทโหลดเดอร์เอาไว้แล้วจะสามารถสั่งให้เข้าสู่บูทโหลดเดอร์เพื่อโปรแกรมตัวเองได้โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องโปรแกรมชิปโดยการทำให้ชิปอยู่ในสถานะที่ตรงกับเงื่อนไขที่กำหนดเอาไว้ใน defines.h (เช่นกดสวิตช์หรือเสียบจั๊มเปอร์ค้างไว้) ในระหว่างที่กดรีเซ็ท บูทโหลดเดอร์จะสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ด้วยอักขระคำสั่งผ่านพอร์ทอนุกรม เราจึงสามารถเขียนโปรแกรมที่อ่านรหัสภาษาเครื่องจากไฟล์ .hex เพื่อส่งไปเขียนบนหน่วยความจำแฟลชของไมโครคอนโทรลเลอร์ได้โดยง่าย
อย่างไรก็ตามเนื่องจากซอฟต์แวร์ avrdude มีความสามารถในการสื่อสารกับบูทโหลดเดอร์ตามเอกสาร AVR109 อยู่แล้ว จึงสามารถใช้ avrdude โปรแกรมชิปได้ทันทีโดยระบุโพรโทคอลการสื่อสารเป็น avr109 ดังตัวอย่าง
avrdude -p atmega168 -c avr109 -P /dev/ttyUSB0 -U flash:w:first.hex:i