ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Afgu/unit testing 1"
Jittat (คุย | มีส่วนร่วม) |
Jittat (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 26: | แถว 26: | ||
- jquery.js | - jquery.js | ||
− | สามารถดาวน์โหลด template | + | สามารถดาวน์โหลด template ดังกล่าวได้: [http://theory.cpe.ku.ac.th/~jittat/afgu/unittest1/project.tgz project.tgz], [http://theory.cpe.ku.ac.th/~jittat/afgu/unittest1/project.zip project.zip] และเปลี่ยนชื่อไดเร็กทอรีตามความเหมาะสม |
== ตัวอย่าง == | == ตัวอย่าง == |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:25, 10 พฤศจิกายน 2556
เราใช้หัดเขียน unit test บน java script ซึ่งเป็นภาษาที่ทุกคนน่าจะสามารถเรียกให้ทำงานได้ ในครั้งแรกเราจะเน้นให้เข้าใจว่า unit test คืออะไร และสามารถเขียน unit test แบบทั่วไปได้ ในครั้งถัด ๆ ไปเราจะศึกษาเทคนิคเพิ่มเติมเช่นการทำ isolation รวมไปถึงการเขียน unit test ที่ดี
เราสามารถทำ unit testing ได้โดยไม่ต้องใช้ framework ใด ๆ เลยก็ได้ แต่ในที่นี้เราจะใช้ mocha เป็น framework mocha รองรับไลบรารีการ assert/expect ได้หลายแบบ เราเลือกใช้ chai นอกจากนี้ mocha ยังต้องการใช้ jquery ในการแสดงผล เราจึงต้องเรียก jquery ด้วย
ไลบรารีที่ใช้:
ที่เราเลือกใช้ mocha และ Chai นั้นเป็นตามรสนิยมผู้สอน ในการใช้งานจริง แนะนำให้เลือกไลบรารี/เฟรมเวิร์คที่ชอบตามสะดวก
โครงสร้างไดเร็กทอรี
ในแต่ละตัวอย่างและแบบฝึกหัดที่เราจะเขียน เราจะใช้โครงสร้างไดเร็กทอรีดังนี้
- project/ - *.js (ไฟล์ js ของ project) - test/ - index-test.html - test.js (เก็บโค้ดสำหรับ test) - lib/ - mocha.js - mocha.css - chai.js - jquery.js
สามารถดาวน์โหลด template ดังกล่าวได้: project.tgz, project.zip และเปลี่ยนชื่อไดเร็กทอรีตามความเหมาะสม