ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Python Programming/Boolean Expressions"
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
Cardcaptor (คุย | มีส่วนร่วม) |
Cardcaptor (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 1: | แถว 1: | ||
ค่าประเภทบูลีนในภาษาไพทอนแทนด้วยคำ <tt>True</tt> และ <tt>False</tt> ซึ่งตัวอักษรตัวเลขของคำทั้งคู่เป็นตัวอักษรตัวใหญ่ ไม่เหมือนในภาษา C และ Java | ค่าประเภทบูลีนในภาษาไพทอนแทนด้วยคำ <tt>True</tt> และ <tt>False</tt> ซึ่งตัวอักษรตัวเลขของคำทั้งคู่เป็นตัวอักษรตัวใหญ่ ไม่เหมือนในภาษา C และ Java | ||
− | + | ค่าบูลีนเป็นผลลัพธ์ของนิพจน์ทางตรรกศาสตร์ ซึ่งส่วนมากคือการนำค่าจำนวนสองค่า หรือค่าสตริงสองค่า มาเปรียบเทียบกัน เครื่องหมายที่ใช้ในการเปรียบเทียบในภาษาไพทอนนั้นมี 6 เครื่องหมาย ได้แก่ == (เท่ากับ), != (ไม่เท่ากับ), < (น้อยกว่า), > (มากกว่า), <= (น้อยกว่าหรือเท่ากับ), และ >= (มากกว่าหรือเท่ากับ) ซึ่งการใช้งานเหมือนกับเครื่องหมายเดียวกันในภาษา Java ทุกประการ | |
<pre title="interpreter"> | <pre title="interpreter"> | ||
แถว 21: | แถว 21: | ||
True | True | ||
</pre> | </pre> | ||
+ | |||
+ | เราสามารถใช้เครื่องหมายทางตรรกศาสตร์เชื่อมนิพจน์ทางตรรกศาสตร์เข้าด้วยกัน ให้กลายเป็นนิพจน์ทางตรรกศาสตร์ที่มีขนาดใหญ่ขึ้นได้ เครื่องหมายทางตรรกศาสตร์ในภาษาไพทอนมีอยู่สามตัว ได้แก่ <tt>and</tt>, <tt>or</tt>, และ <tt>not</tt> ซึ่งมีความหมายเหมือนกับ &&. ||, และ ! ในภาษา C และ Java | ||
+ | <pre title="interpreter">>>> 1 <= 2 and 3 <= 4 | ||
+ | True | ||
+ | >>> 1 <= 2 and 3 <= 4 | ||
+ | True | ||
+ | >>> 1 > 2 or 3 <= 4 | ||
+ | True | ||
+ | >>> 1 > 2 or not 3 <= 4 | ||
+ | False | ||
+ | >>> 10+10==20 and 3*4==9 or 9*9==0 and 7*4==8 | ||
+ | False | ||
+ | >>> 10+10==20 and 3*4==9 or 9*9==0 and 7*4==8 or True | ||
+ | True | ||
+ | <pre> | ||
+ | โดยที่ not มีลำดับความสำคัญมากกว่า and และ and มีลำดับความสำคัญมากกว่า or เ่ช่นเดียวกับในภาษา C และ Java |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:17, 16 ตุลาคม 2551
ค่าประเภทบูลีนในภาษาไพทอนแทนด้วยคำ True และ False ซึ่งตัวอักษรตัวเลขของคำทั้งคู่เป็นตัวอักษรตัวใหญ่ ไม่เหมือนในภาษา C และ Java
ค่าบูลีนเป็นผลลัพธ์ของนิพจน์ทางตรรกศาสตร์ ซึ่งส่วนมากคือการนำค่าจำนวนสองค่า หรือค่าสตริงสองค่า มาเปรียบเทียบกัน เครื่องหมายที่ใช้ในการเปรียบเทียบในภาษาไพทอนนั้นมี 6 เครื่องหมาย ได้แก่ == (เท่ากับ), != (ไม่เท่ากับ), < (น้อยกว่า), > (มากกว่า), <= (น้อยกว่าหรือเท่ากับ), และ >= (มากกว่าหรือเท่ากับ) ซึ่งการใช้งานเหมือนกับเครื่องหมายเดียวกันในภาษา Java ทุกประการ
>>> 1 > 2 False >>> 1+1 == 2 True >>> 10 <= 10 True >>> 10 >= 11 False >>> "good morning" != "hello" True >>> "abc" == "abcd" False >>> "abc" >= "abcde" False >>> "abc" == "abc" True
เราสามารถใช้เครื่องหมายทางตรรกศาสตร์เชื่อมนิพจน์ทางตรรกศาสตร์เข้าด้วยกัน ให้กลายเป็นนิพจน์ทางตรรกศาสตร์ที่มีขนาดใหญ่ขึ้นได้ เครื่องหมายทางตรรกศาสตร์ในภาษาไพทอนมีอยู่สามตัว ได้แก่ and, or, และ not ซึ่งมีความหมายเหมือนกับ &&. ||, และ ! ในภาษา C และ Java
>>> 1 <= 2 and 3 <= 4 True >>> 1 <= 2 and 3 <= 4 True >>> 1 > 2 or 3 <= 4 True >>> 1 > 2 or not 3 <= 4 False >>> 10+10==20 and 3*4==9 or 9*9==0 and 7*4==8 False >>> 10+10==20 and 3*4==9 or 9*9==0 and 7*4==8 or True Trueโดยที่ not มีลำดับความสำคัญมากกว่า and และ and มีลำดับความสำคัญมากกว่า or เ่ช่นเดียวกับในภาษา C และ Java