ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Grad talks"
Pet (คุย | มีส่วนร่วม) |
|||
แถว 168: | แถว 168: | ||
|- | |- | ||
| 17 || 8 ก.ค. 57 || อ.ภารุจ | | 17 || 8 ก.ค. 57 || อ.ภารุจ | ||
− | | ''' | + | | '''Anti-kobpae''' [http://web.mit.edu/andoni/www/LSH/index.html] |
− | + | GradTalk ในวันพรุ่งนี้ ผมขอปาดหน้า อ. จิตรทัศน์ เนื่องจากอยากจะนำงานที่กำลังดำเนินการอยู่มาให้ทางทีมได้ช่วยกันวิจารณ์ครับ<br> | |
+ | <br> | ||
+ | โดยในการพูดคุยคราวนี้ ผมจะนำแนวคิดและแนวทางปฏิบัติในการปรับปรุงสมรรถนะระบบตรวจสอบการคัดลอก anti-kobpae มานำเสนอครับ<br> | ||
+ | โดยจะพูดถึงการปรับปรุงทั้งในมุมของอัลกอริทึมและสถาปัตยกรรมการคำนวณ โดยในมุมแรกนั้น จะพูดถึงเทคนิคการใช้ locality sensitive hashing<br> | ||
+ | เป็นตัวกรองในชั้นแรก ก่อนที่จะตรวจสอบความคล้ายคลึงในระดับหน่วยย่อยโดยใช้ edit distance ในขั้นต่อมา<br> | ||
+ | ในแง่มุมที่สอง จะพูดถึงการกระจายไฟล์ข้อมูลที่เป็นฐานในการตรวจสอบ เพื่อใช้การคำนวณแบบขนานในการเพิ่มสมรรถนะ<br> | ||
+ | โดยจะเทียบเคียงการประมวลผลโดยใช้ MapReduce กับ parallel RDBMS<br> | ||
+ | <br> | ||
+ | ลิงค์ไปหารายละเอียดและบทความที่เกี่ยวข้องครับ<br> | ||
+ | <br> | ||
+ | http://web.mit.edu/andoni/www/LSH/index.html<br> | ||
+ | http://research.google.com/archive/mapreduce.html<br> | ||
+ | http://research.google.com/pubs/pub38125.html<br> | ||
+ | |- | ||
+ | | 18 || 22 ก.ค. 57 || อ.จิตร์ทัศน์ | ||
+ | | '''Small-World Phenomenon''' [http://www.cs.cornell.edu/home/kleinber/swn.pdf] | ||
+ | ผมจะมาพูดเกี่ยวกับเรื่อง Small-World Phenomenon นะครับ โดยจะเริ่มจากข้อสังเกตและการทดลองต่าง ๆ<br> | ||
+ | เกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่เรียกรวม ๆ กันว่า small-world ที่หลาย ๆ คนเคยได้ยิน (เช่นเรื่องพวก six-degree of separation)<br> | ||
+ | และจะแสดงให้เห็นว่า model พื้นฐานของ random graph สองแบบที่มีใช้อยู่ก่อนหน้ามีการศึกษาเรื่องนี้ ไม่เหมาะสมกับการศึกษาปรากฏการณ์นี้<br> | ||
+ | <br> | ||
+ | จากนั้นผมจะอธิบายโมเดลที่นำเสนอโดย Kleinberg ที่ปรับมาจากโมเดลของ Watts และ Strogatz<br> | ||
+ | เพื่อที่จะศึกษาปรากฏการณ์ดังกล่าวในมุมมองของอัลกอริทึม เปเปอร์ที่อ้างอิงคืออันนี้นะครับ<br> | ||
+ | |||
+ | J. Kleinberg. The small-world phenomenon: An algorithmic perspective. Proc. 32nd ACM Symposium on Theory of Computing, 2000.<br> | ||
+ | อ่านแบบ html: http://www.cs.cornell.edu/home/kleinber/swn.d/swn.html<br> | ||
+ | pdf: http://www.cs.cornell.edu/home/kleinber/swn.pdf<br> | ||
|} | |} |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:47, 21 กรกฎาคม 2557
หน้านี้สำหรับรวบรวมหัวข้อและกำหนดการของการพูดคุย Graduate Talks
เวลา: อังคาร 12:30 - 13:30
สถานที่: ห้อง 404
ครั้งที่ | วันที่ | ผู้นำการพูดคุย | หัวข้อ/abstract |
---|---|---|---|
1 | 2 กค. 56 | อ.ภารุจ | Reflections on trusting trust [1]
ในปี 1984 Ken Thompson ได้รับรางวัลที่มีเกียรติ์สูงสุดในวงการคอมพิวเตอร์คือ ACM Turing Award ในฐานะที่เป็นผู้สร้างระบบปฏิบัติการ UNIX |
2 | 16 กค. 56 | อ.จิตร์ทัศน์ | Proofs that yield nothing but their validity or all languages in NP have zero-knowledge proof systems [2]
ปัญหาในกลุ่ม NP สามารถนิยามได้ผ่านทางการปฏิสัมพันธ์ (interaction) ระหว่างผู้พิสูจน์ (prover) และผู้ตรวจสอบ (verifier) ที่มีการติดต่อกันเพียงรอบเดียว คำถามที่น่าสนใจ และเกี่ยวข้องกับเนื้อหาจากการพูดคุยครั้งก่อน ก็คือเป็นไปได้หรือไม่ที่ระหว่างที่ผู้พิสูจน์ดำเนินการพิสูจน์ประโยคบางอย่างต่อผู้ตรวจสอบ เปเปอร์ข้างต้นนำเสนอระบบพิสูจน์ที่รับประกันว่าระหว่างการพิสูจน์ ผู้พิสูจน์จะไม่เปิดเผยข้อมูลอื่น ๆ แก่ผู้ตรวจสอบแม้แต่น้อย ผมจะนำเสนอแนวคิดดังกล่าว และอธิบายไอเดียหลักของบทพิสูจน์ในเปเปอร์ด้านบน (เท่าที่อ่านทันนะครับ) |
3 | 30 กค. 56 | อ.ธนาวินท์ | Game with a purpose [3]
อังคารหน้านี้ ผมจะคุยเกี่ยวกับแนวคิดแบบเก๋ไก๋ |
4 | 13 สค. 56 | อ.ชัยพร | Protothread [4]
ผมจะขอพูดถึงเรื่อง Protothread ซึ่งเป็นความพยายามในการสร้าง abstraction เพื่อให้การพัฒนาแอพลิเคชันแบบมัลติทาสค์ |
5 | 27 สค. 56 | อ.ภารุจ | Checkpointed Early Load Retirement [5]
Checkpointed Early Load Retirement เป็นความพยายามที่จะเพิ่มสมรรถนะของการประมวลผลของ |
6 | 10 กย. 56 | อ.จิตร์ทัศน์ | Differential Privacy [6]
ผมจะมาเล่าเรื่องเกี่ยวกับ differential privacy ซึ่งเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลของปัจเจกเมื่อถูกนำไปประมวลผลกับข้อมูลก้อนใหญ่ เพิ่มเติม : http://research.microsoft.com/apps/pubs/default.aspx?id=74339 |
7 | 1 ตค. 56 | อ.ธนาวินท์ | Parameter-free (time series) data mining [7]
ผมจะมายกตัวอย่างให้ดูสองสามแบบครับว่าทางแลปที่ผมอยู่เนี่ยเค้าสนใจเรื่องการลด parameter ด้วยครับ |
8 | 5 พย. 56 | อ.ชัยพร | Compressive Sensing บน Sensor Network [8]
หลัก ๆ จะอิงตามเปเปอร์สองฉบับนี้ครับ |
9 | 26 พย. 56 | ธานี | Dynamic graph algorithm [9]
ปัญหาบนกราฟทุกคนคงรู้จักดี เช่น Minimum Spanning Tree ทีนี้เราจะแก้ปัญหานั้นๆ บนกราฟที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา |
10 | 17 ธค. 56 | ธรรมรักษ์ | Path coverage in wireless sensor networks [10]
จะสนใจในเรื่องของการหาเส้นทางของ target ที่เคลื่อนที่เข้ามาใน wireless sensor networks อย่างมีเงื่อนไขค่ะ |
11 | 21 มค. 57 | วิศรุต | Internet load balancing ใน High-speed Network [11]
สวัสดีครับ
ในวันอังคารที่ 21 ม.ค.นี้ผมจะพูดเรื่อง Internet load balancing ใน High-speed Network นะครับ |
12 | 11 กพ. 57 | กฤษฎิ์ | Object recognition in 3D scenes with occlusions and clutter by Hough voting [12]
เป็นเรื่องเกี่ยวกับ object recognition โดยใช้ข้อมูล 3D ที่ได้จาก kinect ครับ |
13 | 11 มี.ค. 57 | อ.ภารุจ | Threads cannot be implemented as a library [13]
เราอยู่ในยุคของมัลติคอร์และการโปรแกรมแบบขนาน และเมื่อนึกถึงการโปรแกรมแบบขนาน |
14 | 25 มี.ค. 57 | อ.จิตร์ทัศน์ | A fast solver for a class of linear systems. [14]
ผมจะพูดเกี่ยวกับ development ของ algorithm ที่แก้สมการเชิงเส้นที่มีเงื่อนไขเป็นเมตริกซ์ที่มาจากกราฟ (laplacian matrices of graphs) |
15 | 3 มิ.ย. 57 | อ.ธนาวินท์ | How to do good research, get it published in SIGKDD and get it cited! [15]
ผมหมดมุขแล้วครับ เลยจะพูดกว้างๆ เรื่องการทำวิจัยครับ ในหัวข้อ
|
16 | 24 มิ.ย. 57 | อ.ชัยพร | Networking Named Contents [16]
หัวข้อที่จะขอนำมาเล่าให้ฟังคือ Content-Centric Networks (CCN) หรืออีกชื่อหนึ่งคือ Named Data Networks (NDN) |
17 | 8 ก.ค. 57 | อ.ภารุจ | Anti-kobpae [17]
GradTalk ในวันพรุ่งนี้ ผมขอปาดหน้า อ. จิตรทัศน์ เนื่องจากอยากจะนำงานที่กำลังดำเนินการอยู่มาให้ทางทีมได้ช่วยกันวิจารณ์ครับ |
18 | 22 ก.ค. 57 | อ.จิตร์ทัศน์ | Small-World Phenomenon [18]
ผมจะมาพูดเกี่ยวกับเรื่อง Small-World Phenomenon นะครับ โดยจะเริ่มจากข้อสังเกตและการทดลองต่าง ๆ J. Kleinberg. The small-world phenomenon: An algorithmic perspective. Proc. 32nd ACM Symposium on Theory of Computing, 2000. |