ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบัดกรีแผงวงจรพ่วง"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 51: แถว 51:
 
== การวางอุปกรณ์บนบอร์ด ==
 
== การวางอุปกรณ์บนบอร์ด ==
  
ภาพบอร์ดที่บัดกรีเสร็จแล้ว มองจากด้านบน
+
ภาพบอร์ดที่บัดกรีเสร็จแล้ว มองจากด้านบนและด้านล่าง
[[Image:peri.png|left]]
+
[[Image:peri.png|left|500px]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:34, 1 กันยายน 2557

ผังวงจร (Schematic)

Peri-schem.png

หมายเหตุ:

  • เส้นวงจรที่ระบุชื่อเดียวกัน (เช่น PC0) มีการเชื่อมต่อหากัน (ชอร์ตกัน)
  • เส้น VCC จะถูกนำไปต่อเข้ากับไฟเลี้ยง +5V ในระหว่างการใช้งาน
  • เส้น GND จะถูกนำไปต่อเข้ากับกราวนด์ของไฟเลี้ยงในระหว่างการใช้งาน

อุปกรณ์ที่ใช้

อุปกรณ์ สัญลักษณ์ในผังวงจร ภาพถ่าย
บอร์ดไข่ปลา Prototype.png
ตัวต้านทาน 10K โอห์ม

แถบสี: น้ำตาล ดำ ส้ม ทอง

R10k-schem.png
R10k.png
ตัวต้านทาน 330 โอห์ม

แถบสี: ส้ม ส้ม น้ำตาล ทอง

R330-schem.png
R330.png
สวิตช์กดติดปล่อยดับ

ทิศทางการวางมีผลต่อการเชื่อมต่อ

BTN-schem.png
BTN.png
ไดโอดเปล่งแสง (Light-Emitting Diode -- LED) สีแดง เหลือง และเขียว

วางขั้วให้ถูกต้อง

LED-schem.png
LED.png
ตัวต้านทานไวแสง (Light-Dependent Resistor -- LDR)
LDR-schem.png
LDR.png
คอนเน็ตเตอร์ 5x2 ขา

เสียบด้านสั้นลงบนบอร์ด หันด้านยาวขึ้น

Con5x2-schem.png
Connector-5x2.png

การวางอุปกรณ์บนบอร์ด

ภาพบอร์ดที่บัดกรีเสร็จแล้ว มองจากด้านบนและด้านล่าง

Peri.png