ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Psl/ตัวอย่างการเขียนพอยน์เตอร์กับสตริง"
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
Jittat (คุย | มีส่วนร่วม) |
Jittat (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 115: | แถว 115: | ||
} | } | ||
</syntaxhighlight> | </syntaxhighlight> | ||
+ | |||
+ | == การใช้ fgets ในการอ่านสตริงทีละบรรทัด == |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:37, 18 มกราคม 2558
หน้านี้รวมตัวอย่างการเขียนพอยน์เตอร์กับสตริง
สตริงในภาษาซีเก็บเป็นอาร์เรย์ของ char โดยมีอักขระหมายเลข 0 เป็นตัวปิดท้าย (null-terminated string) ในหลาย ๆ กรณีเราสามารถจัดการสตริงได้สะดวกด้วยพอยน์เตอร์
เนื้อหา
การหาความยาว
ในภาษาซี เรามีฟังก์ชัน strlen สำหรับหาความยาวของสตริง ในตัวอย่างนี้ เราทดลองเขียนฟังก์ชันดังกล่าวโดยใช้พอยน์เตอร์
#include <cstdio>
int mystrlen(char* st)
{
int l = 0;
char* p = st;
while(*p != '\0') {
p++;
l++;
}
return l;
}
char buffer[1000];
main()
{
scanf("%s", buffer);
printf("%d\n", mystrlen(buffer));
}
การคัดลอกสตริง
ในภาษาซี เรามีฟังก์ชัน strcpy สำหรับหาความยาวของสตริง ในตัวอย่างนี้ เราทดลองเขียนฟังก์ชันดังกล่าวโดยใช้พอยน์เตอร์
สังเกตว่า
- เราต้องสั่ง *dp = '\0'; ในตอนท้ายด้วย เพื่อปิดสตริง
- ฟังก์ชัน mystrcpy นั้นคืนค่า pointer ของสตริงปลายทางมาด้วย เราเขียนกรณีดังกล่าวเผื่อไว้สำหรับการใช้งานที่สะดวกขึ้น เช่น เราอาจจะสั่ง printf("%s\n", mystrcpy(dst,src)); ได้เลย
#include <cstdio>
char* mystrcpy(char* dest, char* src)
{
char* sp = src;
char* dp = dest;
while(*sp != '\0') {
*dp = *sp;
sp++;
dp++;
}
*dp = '\0';
return dest;
}
char buffer[1000];
char outbuffer[1000];
main()
{
scanf("%s", buffer);
mystrcpy(outbuffer, buffer);
printf("%s\n", outbuffer);
}
เปลี่ยน a เป็น z
#include <cstdio>
char* atoz(char* st)
{
char* p = st;
while(*p != '\0') {
if(*p == 'a')
*p = 'z';
p++;
}
return st;
}
char buffer[1000];
main()
{
scanf("%s", buffer);
atoz(buffer);
printf("%s\n", buffer);
}
ขยับ (เปลี่ยน a เป็น b, b เป็น c,...)
#include <cstdio>
char* nextchar(char* st)
{
char* p = st;
while(*p != '\0') {
*p = (*p) + 1;
p++;
}
return st;
}
char buffer[1000];
main()
{
scanf("%s", buffer);
nextchar(buffer);
printf("%s\n", buffer);
}