204512-53/lecture4
รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:17, 9 สิงหาคม 2553 โดย 124.121.175.147 (คุย)
บันทึกคำบรรยายวิชา 204512-53 นี้ เป็นบันทึกที่นิสิตเขียนขึ้น เนื้อหาโดยมากยังไม่ผ่านการตรวจสอบอย่างละเอียด การนำไปใช้ควรระมัดระวัง
จดบันทึกคำบรรยายโดย:
นายกฤตกรณ์ ศรีวันนา G5314550024 นายณัฐพล จารุพัฒนะสิริกุล G5314550067 นายพงศกร สุระธรรม G5314550130 นายวุฒิชัย วภักดิ์เพชร G5314550181
Hashing
มี key กับ value K ∈{0,1,…,M-1} M มีค่าเยอะมากๆ ปกติแล้วถ้ามีข้อมูล n ตัว จะใช้ array เก็บ n ช่อง หรือ cn ช่อง (เมื่อ c เป็นค่าคงที่) ให้ m เป็นขนาดของ array หรือขนาดของ table ซึ้ง m >= n มี hash function h ที่รับ k เข้าไปแล้วทำการ map ไป space ของ table(0,1,…,m-1) เมื่อเรารู้ค่า key เราก็จะรู้ว่าจะไปหาข้อมูลที่ ช่องไหน ถ้าข้อมูลที่แตกต่างกันลงกันคนละช่อง table ก็เปรียบเป็น array นั้นเอง เรื่องที่สนในการทำ Hashing มีสองเรื่องคือ 1. วิธีหรือฟังก์ชันที่ใช้ในการคำนวณหาค่าที่ตำแหน่งที่ใช้เก็บข้อมูล 2. การแก้ปัญหาเมื่อเกิดการชนกันเกิดขึ้น ตัวอย่างการแก้ปัญหาเมื่อเกิดการชนกันคือ การใช้วิธี chaining ในการแก้ปัญหาการชนกันโดยการใช้ link list มาใช้เก็บข้อมูลที่ชนกันตามภาพด้านล้าง หรือแก้โดยวิธี open addressing คือข้อมูลที่ชนกันจะถูกเก็บลงในช่องถัดไปที่ว่าง ตามภาพด้านล้าง