Theory Wiki:ความช่วยเหลือ

จาก Theory Wiki
รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:54, 19 มิถุนายน 2549 โดย Jittat (คุย | มีส่วนร่วม)
(ต่าง) ←รุ่นแก้ไขก่อนหน้า | รุ่นแก้ไขล่าสุด (ต่าง) | รุ่นแก้ไขถัดไป→ (ต่าง)
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา

คำสั่งในวิกิ

คำสั่งในวิกิพีเดีย เป็นคำสั่งเฉพาะในการจัดรูปแบบและย่อหน้าในวิกิพีเดีย

ในตารางด้านล่าง คอลัมน์ซ้ายจะแสดงผลลัพธ์ของคำสั่ง และคอลัมน์ขวาจะแสดงว่าคำสั่งอะไรที่จะต้องพิมพ์เข้าไปเพื่อให้ได้ผลลัพธ์นั้น การแก้ไขสามารถทดลองได้ โดยภายหลังการทดลองให้กด "แสดงตัวอย่าง" ด้านล่างเพื่อดูผลที่เกิดขึ้น หรือถ้าอยากทดลองหลายๆ คำสั่งพร้อมทั้งบันทึกไว้ ให้ลองทดลองในหน้า กระบะทราย ซึ่งเป็นหน้าสำหรับทดลองการเขียน

การจัดย่อหน้า และเส้นแบ่ง

ผลที่เกิด คำสั่งที่พิมพ์
สร้างหัวข้อย่อยในบทความ

หัวข้อใหม่

หัวข้อย่อย

หัวข้อย่อยรองลงไป

  • เริ่มต้นด้วยหัวข้อระดับที่ 2 ใช้เครื่องหมายเท่ากับสองอัน หน้าหลังชื่อหัวข้อ (==)
  • อย่าใช้หัวข้อข้ามระดับ (เช่น ใช้หัวข้อระดับที่ 4 ตามด้วย ระดับ 2)
  • บทความใดมีหัวข้อมากกว่า 4 หัวข้อ สารบัญจะสร้างเองอัตโนมัติ

==หัวข้อใหม่==

===หัวข้อย่อย===

====หัวข้อย่อยรองลงไป====

การขึ้นบรรทัดใหม่

ไม่มีผลต่อการจัดย่อหน้าในหน้าแสดงผล แต่สามารถใช้สำหรับการแบ่งประโยคออกจากกันได้ ผู้เขียนบางคนเห็นว่า การขึ้นบรรทัดใหม่นี้จะช่วยในการตรวจแก้ และช่วยการทำงานของ ต่าง (ใช้เพื่อเปรียบเทียบ ความแตกต่างระหว่างรุ่นของหน้า)

แต่การขึ้นบรรทัดใหม่ 2 ครั้ง มีผลเท่ากับการขึ้นย่อหน้าใหม่

การขึ้นบรรทัดใหม่

การขึ้นบรรทัดใหม่ 1 ครั้ง
ไม่มีผลกับการจัดย่อหน้าในหน้าแสดงผล
สามารถใช้ในการตัดประโยคจากกันได้
ผู้เขียนบางคนเห็นว่า การขึ้นบรรทัดนี้จะช่วยในการตรวจแก้
และช่วยการทำงานของ ''ต่าง''
(ใช้เพื่อเปรียบเทียบ
ความแตกต่างระหว่างรุ่นของหน้า)

แต่การขึ้นบรรทัดใหม่ 2 ครั้ง
มีผลเท่ากับการขึ้นย่อหน้าใหม่

คุณสามารถขึ้นบรรทัดใหม่ได้
โดยที่ไม่ขึ้นย่อหน้าใหม่

การสั่งขึ้นบรรทัดใหม่

คุณสามารถขึ้นบรรทัดใหม่ได้<br/>
โดยที่ไม่ขึ้นย่อหน้าใหม่
  • การสร้างรายการ
    • ให้ใส่เครื่องหมาย * ด้านหน้ารายการ
    • ใช้ * มากดวงขึ้น
      • เพื่อสร้างรายการในระดับ
      • ที่ย่อยมากขึ้น
*อย่าลืมพิมพ์ให้ชิดขอบซ้าย ไม่ให้มีช่องว่างด้านหน้า

การใส่ bullet เพื่อแยกรายการ

*การสร้างรายการ
**ให้ใส่เครื่องหมาย * ด้านหน้ารายการ
**ใช้ * มากดวงขึ้น
***เพื่อสร้างรายการในระดับ
***ที่ย่อยมากขึ้น
  1. รายการชนิดตัวเลขก็ใช้ดีเช่นกัน
    1. ยิ่งจัดโครงสร้างดีๆ
    2. ยิ่งง่ายต่อการติดตาม
*รายการชนิดตัวเลข คล้ายๆ กับรายการชนิด bullet เพียงแต่เปลี่ยนเครื่องหมาย * เป็น #

การใส่เลขลำดับข้อ

# รายการชนิดตัวเลขก็ใช้ดีเช่นกัน
## ยิ่งจัดโครงสร้างดีๆ
## ยิ่งง่ายต่อการติดตาม
  • สามารถใช้ผสมกันได้
    1. และแบ่งรายการย่อยไปเรื่อยๆ
      • อย่างนี้

การใช้ bullet ผสมเลขลำดับข้อ

* สามารถใช้ผสมกันได้
*# และแบ่งรายการย่อยไปเรื่อยๆ
*#* อย่างนี้
รายการนิยามศัพท์ 
รายการของคำศัพท์และความหมาย
คำศัพท์ 
ความหมายของคำศัพท์

การแสดงหัวข้อหลักและหัวข้อย่อย

; รายการนิยามศัพท์ : รายการของคำศัพท์และความหมาย
; คำศัพท์ : ความหมายของคำศัพท์
ขึ้นต้นด้วยมหัพภาคคู่ ( : ) เพื่อร่นกั้นหน้าซ้ายของย่อหน้า

ขึ้นบรรทัดใหม่ เพื่อเริ่มย่อหน้าใหม่

* ปกติแล้วจะใช้แสดงเนื้อหาสาระ แต่ก็มักจะใช้ในการพูดคุยในหน้าพูดคุย (Talk pages) เช่นกัน

การย่อหน้า

: ขึ้นต้นด้วยมหัพภาคคู่ เพื่อร่นกั้นหน้าซ้ายของย่อหน้า
ขึ้นบรรทัดใหม่ เพื่อเริ่มย่อหน้าใหม่
IF บรรทัดขึ้นต้นด้วยช่องว่าง THEN
มันจะแสดงในรูปแบบ
เหมือนกับที่พิมพ์เข้าไป;
โดยใช้ฟอนต์ที่มีความกว้างคงที่;
และจะไม่ตัดบรรทัดด้วย;
ENDIF
  • วิธีนี้มีประโยชน์สำหรับ:
    • คัดลอกข้อความที่มีการจัดรูปแบบไว้แล้วมาวาง
    • การอธิบายรายละเอียดของอัลกอริทึม
    • ซอร์สโค้ดของโปรแกรม
    • ascii art
    • โครงสร้างทางเคมี
  • คำเตือน: ถ้าท่านพิมพ์ข้อความยาวๆ ในบรรทัดเดียวกัน ท่านจะทำให้ทั้งหน้ากว้างมากเกินไป ทำให้อ่านได้ลำบาก และโปรดระวัง อย่าพิมพ์ข้อความทั่วไปให้มีช่องว่างอยู่ด้านหน้า
IF บรรทัดขึ้นต้นด้วยช่องว่าง THEN
มันจะแสดงในรูปแบบ
เหมือนกับที่พิมพ์เข้าไป;
โดยใช้ฟอนต์ที่มีความกว้างคงที่;
และจะไม่ตัดบรรทัดด้วย;
ENDIF
วางข้อความไว้กึ่งกลาง

การวางข้อความไว้กึ่งกลาง

<center>วางข้อความไว้กึ่งกลาง</center>

เส้นแบ่งในแนวนอน: นี่อยู่บน


และนี่อยู่ล่าง

  • มีประโยชน์มาก สำหรับแบ่งหัวข้อการพูดคุยในหน้าพูดคุย

การใช้เส้นแบ่ง

เส้นแบ่งในแนวนอน: นี่อยู่บน
----
และนี่อยู่ล่าง

ลิงก์

ผลลัพธ์ที่ได้ สิ่งที่พิมพ์เข้าไป

สมชายแนะนำหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน

  • ตัวหนังสือตัวแรกของชื่อ ลิงก์ภาษาอังกฤษ จะถูกแปลงเป็นตัวใหญ่ โดยอัตโนมัติ
  • รูปแบบของชื่อลิงก์ จะถูกเก็บไว้โดยที่ว่างจะถูกเปลี่ยนเป็นเส้นใต้ (การพิมพ์เส้นใต้แทนที่ว่างจะให้ผลเหมือนกัน แต่เป็นสิ่งที่ไม่ควรทำ)
  • ดังนั้น ลิงก์ที่ด้านบนคือ "http://th.wikipedia.org/wiki/หนังสือดี_100_เล่มที่คนไทยควรอ่าน" ชี้ไปยังหน้าของหัวข้อ "หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน"

การลิงก์หัวข้อ

สมชายแนะนำ[[หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน]]

ไทยแบ่งเขตการบริหารออกเป็น 76 จังหวัด

  • ลิงก์ไปจุดเดียวกัน แต่ใช้ชื่ออื่น
[[ประเทศไทย|ไทย]]แบ่งเขตการบริหารออกเป็น 76 จังหวัด

ลิงก์ไปยังตอนใดตอนหนึ่งในหน้า เช่น en:List_of_cities_by_country#Morocco

(การลิงก์ไปยังตอนที่ไม่มีอยู่จริง ไม่ทำให้อะไรเสียหาย เพียงแค่จะเสมือนลิงก์ไปยังหน้านั้นตามปกติ คือจะแสดงตั้งแต่บนสุดลงมา)

การลิงก์ไปตอนใดตอนหนึ่ง

[[List_of_cities_by_country#Morocco]]

การต่อท้ายคำ ทำให้เป็นลิงก์ทั้งคำ และส่วนขยายได้: en:testing, en:genes

การต่อท้ายคำทำ ให้เป็นลิงก์ทั้งคำ และส่วนขยายได้:
[[:en:test]]ing, [[:en:gene]]s

ซ่อนสิ่งที่อยู่ในวงเล็บอัตโนมัติ: อาณาจักร

ซ่อน namespace อัตโนมัติ: สภากาแฟ

  • เซิร์ฟเวอร์จะเติมส่วนที่อยู่หลัง | ให้เองเมื่อท่านบันทึกหน้า ครั้งต่อไปที่ท่านกลับมาแก้ไข ท่านจะเห็นส่วนที่มันขยายหลัง | การแสดงตัวอย่างก่อน จะแสดงผลลัพธ์ได้ถูกต้อง แต่จะไม่ขยายมัน

การซ่อนข้อความที่อยู่ในวงเล็บ

ซ่อนสิ่งที่อยู่ในวงเล็บอัตโนมัติ:
[[อาณาจักร (ชีววิทยา)|]]

ซ่อน namespace อัตโนมัติ:
[[วิกิพีเดีย:สภากาแฟ|]]

เมื่อเพิ่มความคิดเห็นลงไปในหน้าพูดคุย ท่านควรลงชื่อเสมอ ซึ่งท่านทำได้ง่ายๆ โดยใส่เครื่องหมาย ~ 3 ตัวติดกัน ซึ่งจะถูกแทนที่ด้วยชื่อของท่าน:

กำธร

หรือพิมพ์ ~ 4 ตัว เพื่อใส่ชื่อและวันที่/เวลา:

กำธร 17:03, 14 มิ.ย. 2004 (UTC)

การลงชื่อ และเวลา

เมื่อเพิ่มความคิดเห็นลงไปในหน้าพูดคุย ท่านควรลงชื่อเสมอ
ซึ่งท่านทำได้ง่ายๆ โดยใส่เครื่องหมาย ~ 3 ตัวติดกัน
ซึ่งจะถูกแทนที่ด้วยชื่อของท่าน:
: ~~~
หรือพิมพ์ ~ 4 ตัว เพื่อใส่ชื่อและวันที่/เวลา:
: ~~~~

พยากรณ์อากาศของจังหวัดลำปาง คือหน้าที่ยังไม่มี

  • ท่านสามารถสร้างมันได้โดยคลิกที่ลิงก์
  • การสร้างหน้าใหม่:
    1. สร้างลิงก์ไปหามันที่หน้าใดๆ ตามสมควร
    2. บันทึกหน้านั้น
    3. คลิกที่ลิงก์ที่คุณพึ่งสร้างขึ้น เพื่อเปิดหน้าใหม่ขึ้นมาแก้ไข
  • ลองดูที่คู่มือ how to start a page และหลักการตั้งชื่อหน้าของโครงการของท่าน

การสร้างลิงก์หัวข้อใหม่

[[พยากรณ์อากาศของจังหวัดลำปาง]] คือหน้าที่ยังไม่มี
  • การเปลี่ยนทิศทางจากชื่อหน้าหนึ่ง ให้ไปยังอีกหน้าหนึ่ง สามารถทำได้โดยป้อนข้อความอย่างนี้ที่บรรทัดแรก
#REDIRECT [[ประเทศไทย]]
  • วิธีที่จะลิงก์หน้าไปยังหัวข้อเดียวกันซึ่งอยู่ในภาษาอื่น หรือวิกิอื่น ให้ดูที่ meta:MediaWiki User's Guide: Interwiki linking
[[fr:Wikipédia:Aide]]

หน้า หัวข้ออื่นที่โยงมา และ ปรับปรุงล่าสุด สามารถลิงก์ได้โดย: พิเศษ:Whatlinkshere/วิกิพีเดีย:การแก้ไขหน้า และ พิเศษ:Recentchangeslinked/วิกิพีเดีย:การแก้ไขหน้า

หน้า '''หัวข้ออื่นที่โยงมา''' และ '''ปรับปรุงล่าสุด''' สามารถลิงก์ได้โดย:
[[พิเศษ:Whatlinkshere/วิกิพีเดีย:การแก้ไขหน้า]]
และ
[[พิเศษ:Recentchangeslinked/วิกิพีเดีย:การแก้ไขหน้า]]

ลิงก์ภายนอก: Nupedia

ลิงก์ภายนอก:
[http://www.nupedia.com Nupedia]

หรือแค่ใส่ URL: http://www.nupedia.com

  • ใน URL สัญลักษณ์ทุกตัวต้องเป็น:
    A-Z a-z 0-9 . _ \ / ~ % - + & # ? ! = ( ) @ \x80-\xFF
  • ถ้า URL ใดมีอักษรต่างไปจากนี้จะถูกแปลง เช่น (^) จะถูกแปลงเป็น %5E (สามารถดูได้จาก ASCII)
หรือแค่ใส่ URL:
http://www.nupedia.com.

ISBN 012345678X

ISBN 0-12-345678-X

  • การลิงก์ไปยังหนังสือ ท่านสามารถใช้ลิงก์ ISBN
ISBN 012345678X

ISBN 0-12-345678-X

ใช้ลิงก์ไปยังวันที่ เพื่อที่ทุกๆ คนจะได้ตั้งค่าแสดงผลตามที่ต้องการ ใช้ พิเศษ:Preferences เพื่อเปลี่ยนค่าตั้งของการกำหนดการแสดงผลงวันที่

[[July 20]], [[1969]] , [[20 July]] [[1969]]
and [[1969]]-[[07-20]]
ทั้งหมดจะแสดงเป็น 20 July 1969 ถ้าท่านกำหนดให้แสดงผลวันที่เป็น 1 January 2001

เสียง

  • การลิงก์ไปยังไฟล์อัพโหลดที่ไม่ใช่ภาพ เช่นไฟล์เสียง หรือภาพที่แสดงเป็นลิงก์แทนที่จะแสดงบนหน้านั้นเลย ให้ใช้ลิงก์ "media"
[[media:Sg_mrob.ogg|เสียง]]

รูปภาพ

ดูเพิ่มเติมที่หัวข้อ วิกิพีเดีย:วิธีการใส่ภาพ

ภาพหรือสื่อต่างๆที่นำมาใช้ได้ในบทความของวิกิพีเดีย ต้องผ่านการอัพโหลดที่หน้าอัพโหลดของวิกิพีเดีย หรือหน้าอัพโหลดของคอมมอนส์ โดยภาพที่ถูกอัพโหลดแล้วสามารถดูได้ที่รายการภาพหรือ ห้องภาพใหม่ของวิกิพีเดียภาษาไทย หรือหน้าหลักของคอมมอนส์

วิธีการใส่ภาพ ทำได้โดย ใช้คำสั่ง [[ภาพ:__ตามด้วยชื่อภาพ__]] ตัวอย่างเช่น [[ภาพ:Wiki-th.png]] สำหรับการใส่ค่ารายละเอียดของภาพเช่นขนาด ตำแหน่ง หรือคำอธิบายอื่นๆ ให้ใส่หลังเครื่องหมายขีดตั้งเช่น [[ภาพ:Wiki-th.png|right|90px]] โดยจะแสดงผลออกมา อย่างภาพภาพโลโก้วิกิพีเดียทางขวามือโดยมีความหมายว่า ให้วางชิดขวา ที่ขนาด 90 พิกเซล ดูเพิ่มเติมที่ วิกิพีเดีย:วิธีการใส่ภาพ

รูปแบบตัวอักษร

ผลลัพธ์ที่ได้ สิ่งที่พิมพ์เข้าไป

Emphasize, strongly, very strongly.

  • ทั้งหมดนี้ ใช้เครื่องหมาย apostrophe หลายๆ ตัว ไม่ใช่เครื่องหมาย double quote

การแสดงการเน้นตัวอักษร

''Emphasize'', '''strongly''',
'''''very strongly'''''.

ท่านสามารถเขียน ตัวเอียง และ ตัวหนา หากต้องการกำหนดตามลักษณะของฟอนต์ แทนที่จะเป็น emphasis เช่นใช้ในการเขียนสูตรคณิตศาสตร์:

F = ma
  • อย่างไรก็ตาม ความแตกต่างระหว่าสองวิธีนี้ ไม่ถือเป็นสาระสำคัญนัก สำหรับเว็บบราวเซอร์แบบกราฟิก และคนส่วนใหญ่ก็เลือกที่จะไม่สนใจมัน

การแสดงลักษณะของตัวอักษร

ท่านสามารถเขียน <i>ตัวเอียง</i> และ <b>ตัวหนา</b>
หากต้องการกำหนดตามลักษณะของฟอนต์
แทนที่จะเป็น emphasis เช่นใช้ในการเขียนสูตรคณิตศาสตร์:
:<b>F</b> = <i>m</i><b>a</b>
ฟอนต์ ตัวพิมพ์ดีด สำหรับศัพท์เทคนิค หรืออื่นๆ

การใช้ฟอนต์สำหรับศัพท์เทคนิค

ฟอนต์ <tt>ตัวพิมพ์ดีด</tt>
สำหรับศัพท์เทคนิค หรืออื่นๆ
ท่านสามารถใช้ ตัวอักษรขนาดเล็ก

สำหรับเขียนคำบรรยายใต้ภาพ

การใช้ฟอนต์สำหรับบรรยายใต้ภาพ

ท่านสามารถใช้ <small>ตัวอักษรขนาดเล็ก</small>
สำหรับเขียนคำบรรยายใต้ภาพ
ท่านสามารถ ขีดฆ่าเนื้อหาที่ลบออก

แล้ว ขีดเส้นใต้เนื้อหาใหม่

การขีดฆ่าข้อความเดิมใช้ข้อความใหม่

ท่านสามารถ <strike>ขีดฆ่าเนื้อหาที่ลบออก</strike>
แล้ว <u>ขีดเส้นใต้เนื้อหาใหม่</u>

Diacritical marks:
À Á Â Ã Ä Å
Æ Ç È É Ê Ë
Ì Í Î Ï Ñ Ò
Ó Ô Õ Ö Ø Ù
Ú Û Ü ß à á
â ã ä å æ ç
è é ê ë ì í
î ï ñ ò ó ô
œ õ ö ø ù ú
û ü ÿ


&Agrave; &Aacute; &Acirc; &Atilde; &Auml; &Aring; 
&AElig; &Ccedil; &Egrave; &Eacute; &Ecirc; &Euml; 
&Igrave; &Iacute; &Icirc; &Iuml; &Ntilde; &Ograve; 
&Oacute; &Ocirc; &Otilde; &Ouml; &Oslash; &Ugrave; 
&Uacute; &Ucirc; &Uuml; &szlig; &agrave; &aacute; 
&acirc; &atilde; &auml; &aring; &aelig; &ccedil; 
&egrave; &eacute; &ecirc; &euml; &igrave; &iacute;
&icirc; &iuml; &ntilde; &ograve; &oacute; &ocirc; 
&oelig; &otilde; &ouml; &oslash; &ugrave; &uacute; 
&ucirc; &uuml; &yuml;

เครื่องหมายวรรคตอน:
¿ ¡ § ¶
† ‡ • – —
‹ › « »
‘ ’ “ ”


&iquest; &iexcl; &sect; &para;
&dagger; &Dagger; &bull; &ndash; &mdash;
&lsaquo; &rsaquo; &laquo; &raquo;
&lsquo; &rsquo; &ldquo; &rdquo;

สัญลักษณ์ทางการเงิน:
™ © ® ¢ € ¥

£ ¤
&trade; &copy; &reg; &cent; &euro; &yen;
&pound; &curren;
ตัวห้อย: x2

ตัวยก: x2 or x²

  • The latter method of superscript can't be used in the most general context, but is preferred when possible (as with units of measurement) because most browsers have an easier time formatting lines with it.

ε0 = 8.85 × 10−12 C² / J m.

1 hectare = 1 E4 m²

ตัวห้อย: x<sub>2</sub>
ตัวยก: x<sup>2</sup> or x&sup2;
&epsilon;<sub>0</sub> =
8.85 &times; 10<sup>&minus;12</sup>
C&sup2; / J m.

1 [[hectare]] = [[1 E4 m²]]
ตัวอักษรกรีก:

α β γ δ ε ζ
η θ ι κ λ μ ν
ξ ο π ρ σ ς
τ υ φ χ ψ ω
Γ Δ Θ Λ Ξ Π
Σ Φ Ψ Ω

&alpha; &beta; &gamma; &delta; &epsilon; &zeta;
&eta; &theta; &iota; &kappa; &lambda; &mu; &nu;
&xi; &omicron; &pi; &rho;  &sigma; &sigmaf;
&tau; &upsilon; &phi; &chi; &psi; &omega;
&Gamma; &Delta; &Theta; &Lambda; &Xi; &Pi;
&Sigma; &Phi; &Psi; &Omega;

สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์:
∫ ∑ ∏ √ − ± ∞
≈ ∝ ≡ ≠ ≤ ≥ →
× · ÷ ∂ ′ ″
∇ ‰ ° ∴ ℵ ø
∈ ∉ ∩ ∪ ⊂ ⊃ ⊆ ⊇
¬ ∧ ∨ ∃ ∀ ⇒ ⇔
→ ↔

&int; &sum; &prod; &radic; &minus; &plusmn; &infin;
&asymp; &prop; &equiv; &ne; &le; &ge; &rarr;
&times; &middot; &divide; &part; &prime; &Prime;
&nabla; &permil; &deg; &there4; &alefsym; &oslash;
&isin; &notin; &cap; &cup; &sub; &sup; &sube; &supe;
&not; &and; &or; &exist; &forall; &rArr; &hArr;
&rarr; &harr;

การเว้นระยะห่างในสูตรคณิตศาสตร์:
เป็นที่ประจักษ์ว่า x² ≥ 0 เป็นความจริง

  • การเว้นระยะห่างมากกว่า 1 เคาะ ให้ใช้ตัวเว้นแบบไม่แบ่ง: &nbsp;
  • นอกจากนี้ &nbsp; ยังป้องกันมิให้บรรทัดตรงกลางข้อความถูกแบ่งอีกด้วย ซึ่งเหมาะกับการใช้ในสูตรคณิตศาสตร์
เป็นที่ประจักษ์ว่า ''x''² ≥ 0 เป็นความจริง

สูตรคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อน:
  

<math>\sum_{n=0}^\infty \frac{x^n}{n!}</math>

การเว้นมิให้แปลงตัวตกแต่ง:
Link → (<i>to</i>) the [[FAQ]]

  • ใช้เพื่อแสดงข้อมูลดิบจริงๆ ซึ่งไม่ต้องการให้ถูกแปลความหมายเป็นอื่น
  • แสดงตัวตกแต่งวิกิทั้งหมด รวมทั้งแท็ก HTML ด้วย แทนที่จะให้มันถูกใช้ในการตกแต่ง
  • Does show special characters, and not the HTML character codes.
<nowiki>Link &rarr; (<i>to</i>)
the [[FAQ]]</nowiki>

ใส่บันทึกหมายเหตุในซอร์สของหน้า:
ซึ่งจะไม่แสดงในหน้านี้

  • ใช้เพื่อทิ้งบันทึกหมายเหตุเอาไว้ในหน้า เผื่อไว้ช่วยในการตรวจแก้ในอนาคต
<!-- ใส่บันทึกหมายเหตุที่นี่ -->

การสร้างตาราง

ดูที่หัวข้อหลัก การสร้างตาราง

ตัวแปร

รหัส ผลลัพธ์ที่ได้
{{CURRENTMONTH}} 01
{{CURRENTMONTHNAME}} มกราคม
{{CURRENTMONTHNAMEGEN}} มกราคม
{{CURRENTDAY}} 8
{{CURRENTDAYNAME}} วันพุธ
{{CURRENTWEEK}} 2
{{CURRENTYEAR}} 2025
{{CURRENTTIME}} 23:27
{{NUMBEROFARTICLES}} 665
{{PAGENAME}} ความช่วยเหลือ
{{NAMESPACE}} Theory Wiki
{{REVISIONID}} 1287
{{localurl:pagename}} /wiki/index.php/Pagename
{{localurl:บทความ|action=edit}} /wiki/index.php?title=%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1&action=edit
{{fullurl:pagename}} https://theory.cpe.ku.ac.th/wiki/index.php/Pagename
{{fullurl:pagename|query_string}} https://theory.cpe.ku.ac.th/wiki/index.php?title=Pagename&query_string
{{SERVER}} https://theory.cpe.ku.ac.th
{{ns:1}} พูดคุย
{{ns:2}} ผู้ใช้
{{ns:3}} คุยกับผู้ใช้
{{ns:4}} Theory Wiki
{{ns:5}} คุยเรื่องTheory Wiki
{{ns:6}} ไฟล์
{{ns:7}} คุยเรื่องไฟล์
{{ns:8}} มีเดียวิกิ
{{ns:9}} คุยเรื่องมีเดียวิกิ
{{ns:10}} แม่แบบ
{{ns:11}} คุยเรื่องแม่แบบ
{{ns:12}} วิธีใช้
{{ns:13}} คุยเรื่องวิธีใช้
{{ns:14}} หมวดหมู่
{{ns:15}} คุยเรื่องหมวดหมู่
{{SITENAME}} Theory Wiki

คัดมาจาก [1]