จักริน ชวชาติ
เนื้อหา
ประวัติ
ชื่อ: จักริน ชวชาติ
หัวข้องานวิจัย
Degree Limiting Minimum Diameter Tree Problem
เป็นปัญหา Network design มีกราฟ ต้องการหา spanning tree โดยมี objective ที่สนใจอยู่ 2 อย่าง ได้แก่ low diameter และ degree ของแต่ละ nodeไม่เกินดีกรีที่ node นั้นรับได้ ปัญหานี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้เกี่ยวกับงาน peer to peer streaming ได้คือต้องการให้มี delay น้อย(สัมพันธ์กับ diameter) และการ assign งานไม่เกินที่แต่ละ node รับได้(สอดคล้องกับ degree)
Problem Definition
Given a metric length function over a set of nodes, and a degree-bound for each , the Degree-Limiting Minimum-Diameter Spanning Tree Problem (DLDST) is to find a spanning tree of of minimum diameter such that each node has degree at most in .
เอกสารอ้างอิง
Shi, S. Y.; Turner, J. S. & Waldvogel, M. Dimensioning server access bandwidth and multicast routing in overlay networks In 11th International Workshop on Network and Operating System Support for Digital Audio and Video (NOSSDAV’01), 2001, 83-92
Frederickson, G. N.; Hecht, M. S. & Kim, C. E. Approximation Algorithms for Some Routing Problems SIAM Journal on Computing, SIAM, 1978, 7, 178-193
Könemann, J.; Levin, A. & Sinha, A. Approximating the degree-bounded minimum diameter spanning tree problem Algorithmica, Springer, 2003, 109-121
บันทึก
Paper: Minimum-Latency Broadcast Scheduling in Wireless Ad Hoc Networks.
ที่มา INFOCOM 2007. 26th IEEE International Conference on Computer Communications. IEEE (2007), pp. 733-739. ของ Huang, S.C.-H. Peng-Jun Wan Xiaohua Jia Hongwei Du Weiping Shang
Problem
An instance of Minimum-Latency Broadcast Scheduling consists of an undirected graph representing the communication topology and a distinguished node as the source of the broadcast. For any subset of , denote by the set of nodes in each of which has exactly one neighbor in . Then a broadcast schedule of latency is a sequence satisfying that
(1).
(2) for each .
(3).
The problem MLBS seeks a broadcast schedule of the smallest latency.
แต่สนใจ MLBS ใน unit-disk graphs G(V,E) ที่จะมี edge เชื่อมระหว่าง 2 nodesก็ต่อเมื่อ ระยะทาง(euclidean distance)ระหว่างสองโหนดนั้นไม่เกิน 1
บันทึก
เข้าใจว่า
อัลกอริทึมจะสร้าง BFS treeของ rooted at แล้วคำนวณหาความลึกของทุกๆ nodes ใน tree จากนั้นในแต่ละชั้น จะหา maximal independent set จะเรียก node พวกนี้ว่าเป็น dominators ส่วน node ที่เป็น parents ของ dominators ใน T เรียกว่า connectors เวลาที่ส่งข้อมูลจาก s ก็จะเริ่มส่งไป dominator->connector->dominator ไปเรื่อยๆ
ในแต่ละชั้นนั้ independent set of UDG จะถูกแบ่งเป็น 12 2-IS of ซึ่งจะมองเป็น proper node coloring of ซึ่งแต่ละ subset ใน partition จะสอดคล้องกับสี หนึ่งสี
ทีนี้ส่วนที่น่าสนใจจะเป็นในแต่ละชั้นจะส่งข้อมูลกันอย่างไร โดยที่ไม่ชนกัน ซึ่งปัญหานี้แปลงไปเป็นปัญหา coloring ได้