ข้อย่อย 1
สูตรคือ
base case: ให้
เป็นจริง
inductive step: inductive hypothesis คือสมมติให้ p(n) คือ
เป็นจริง ต้องการพิสูจน์ว่า p(n+1) คือ
เป็นจริงด้วย
- จากที่สมมติไว้คือ
![{\displaystyle {\frac {1}{2}}+{\frac {1}{4}}+{\frac {1}{8}}+\cdots +{\frac {1}{2^{n}}}={\frac {2^{n}-1}{2^{n}}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/00b20dd40b83096fbfda09773da732b373316590)
- บวกทั้งสองข้างของสมการด้วย
![{\displaystyle {\frac {1}{2^{n+1}}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/9d0b2c6530c9fc90c4c3556f4997098ab6cfdc8e)
- จะได้
![{\displaystyle {\frac {1}{2}}+{\frac {1}{4}}+{\frac {1}{8}}+\cdots +{\frac {1}{2^{n}}}+{\frac {1}{2^{n+1}}}={\frac {2^{n}-1}{2^{n}}}+{\frac {1}{2^{n+1}}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/d0c6cea060fe8ac95b472dddcef3c6d0a29a2d66)
![{\displaystyle ={\frac {2}{2}}.{\frac {2^{n}-1}{2^{n}}}+{\frac {1}{2^{n+1}}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/1d6f638201641794b35d250c121a9ce2c99c1485)
![{\displaystyle ={\frac {2^{n+1}-2}{2^{n+1}}}+{\frac {1}{2^{n+1}}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/3f3734767b5446e84f0a15ef17c857c524a2638a)
![{\displaystyle ={\frac {2^{n+1}-1}{2^{n+1}}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/fbd83ec56e18b18fc8d380c7b7926cfc0561c03c)
- ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า
![{\displaystyle {\frac {1}{2}}+{\frac {1}{4}}+{\frac {1}{8}}+\cdots +{\frac {1}{2^{n}}}={\frac {2^{n}-1}{2^{n}}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/00b20dd40b83096fbfda09773da732b373316590)
ข้อย่อย 2
สูตรคือ
base case: ให้
เป็นจริง
inductive step: inductive hypothesis คือสมมติให้ p(n)คือ
เป็นจริง ต้องการพิสูจน์ว่า
เป็นจริงด้วย
- จากที่สมมติไว้คือ
![{\displaystyle {\frac {1}{1\cdot 2}}+{\frac {1}{2\cdot 3}}+{\frac {1}{3\cdot 4}}+\cdots +{\frac {1}{n(n+1)}}={\frac {n}{n+1}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/09a278edd183d4b95ff864db968b6105d29f79ca)
- บวก
ทั้งสองข้างของสมการ
- จะได้
![{\displaystyle {\frac {1}{1\cdot 2}}+{\frac {1}{2\cdot 3}}+{\frac {1}{3\cdot 4}}+\cdots +{\frac {1}{n(n+1)}}+{\frac {1}{(n+1)(n+2)}}={\frac {n}{n+1}}+{\frac {1}{(n+1)(n+2)}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/8711c8ea0cd092664c2d16f8ef79edb8136fb012)
![{\displaystyle ={\frac {n}{(n+1)}}.{\frac {(n+2)}{(n+2)}}+{\frac {1}{(n+1)(n+2)}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/3e157d7765d300a457f6a82dcffd13b9aaeffc17)
![{\displaystyle ={\frac {(n+1)(n+1)}{(n+1)(n+2)}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/5cac3274993e528db87db77efbdcecd9aa1680b8)
![{\displaystyle ={\frac {(n+1)}{(n+2)}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/58de9bbe320f9fce568047b541ced3285ec9d604)
- ดังนั้นเราจึงสรุปได้ว่า
เป็นจริง
ข้อย่อย 3
(Base Case) เนื่องจาก
เราได้ว่า
(Induction Case) สมมติให้ n เป็นจำนวนเต็มที่มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 0 และสมมติให้สมการในโจทย์เป็นจริง เราได้ว่า
![{\displaystyle 1^{2}+3^{2}+\dotsb +(2(n+1)+1)^{2}\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/bde8669d00e36a09e6af8334288273cc2bda16f9) |
![{\displaystyle =\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f2219e60aaf3efae72388ea5a38538ff64f0ce00) |
![{\displaystyle (1^{2}+3^{2}+\dotsb +(2n+1)^{2})+(2n+3)^{2}\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/9aa2f2d88a691b51c4189a2c271c76ce4777a97d) |
|
![{\displaystyle =\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f2219e60aaf3efae72388ea5a38538ff64f0ce00) |
![{\displaystyle {\frac {(n+1)(2n+1)(2n+3)}{3}}+(2n+3)^{2}\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/164a7c3ce7a3411605f7d6a415c7c9ab85154988) |
|
![{\displaystyle =\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f2219e60aaf3efae72388ea5a38538ff64f0ce00) |
![{\displaystyle (2n+3){\bigg [}{\frac {(n+1)(2n+1)}{3}}+(2n+3){\bigg ]}\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/823179a45dc56c60a78b115ff212f68d50ecc8eb) |
|
![{\displaystyle =\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f2219e60aaf3efae72388ea5a38538ff64f0ce00) |
![{\displaystyle (2n+3){\bigg [}{\frac {2n^{2}+3n+1+3(2n+3)}{3}}{\bigg ]}\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/b02fe2c19e7d939b79f7aa12c7dbc634fe602e33) |
|
![{\displaystyle =\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f2219e60aaf3efae72388ea5a38538ff64f0ce00) |
![{\displaystyle (2n+3){\bigg [}{\frac {2n^{2}+9n+10}{3}}{\bigg ]}\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/46a5fa2efe157c41f8779c0954792024f9a3f98f) |
|
![{\displaystyle =\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f2219e60aaf3efae72388ea5a38538ff64f0ce00) |
![{\displaystyle (2n+3){\frac {(n+2)(2n+5)}{3}}\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/5d067efa9a89dc8431cbce9c25b378ece5a193a2) |
|
![{\displaystyle =\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f2219e60aaf3efae72388ea5a38538ff64f0ce00) |
![{\displaystyle {\frac {((n+1)+1)((2(n+1)+1)(2(n+1)+3)}{3}}\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/be10b72a821a01cd69deab278670dcbe1d87bdcc) |
ฉะนั้นเราจึงสามารถสรุปได้ว่าสมการในโจทย์เป็นจริงสำหรับจำนวนเต็ม n ที่ไม่เป็นลบทุกจำนวน
ข้อย่อย 4
base case: คือ n=5 แทนค่าจะได้
เป็นจริง
inductive step: inductive hypothesis คือ สมมติให้ p(n) คือ
เป็นจริง ต้องการแสดงว่า
เป็นจริงด้วย
- จากที่สมมติ
![{\displaystyle 2^{n}>n^{2}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/a58282d8509f4a6775d9114ee79555de5046fb6c)
- คูณ 2 ทั้งสองข้างของสมการจะได้
![{\displaystyle 2.2^{n}>2.n^{2}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/4407581813fc48f7c52e9eee3195a113bb5da537)
![{\displaystyle 2^{n+1}>n^{2}+n^{2}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/d471d3de3a122cd8c5429fca289fa8972b13d94a)
เนื่องจาก n>4
![{\displaystyle \geq n^{2}+2n+1}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/c44801e9eb70f89f6ff217949bee4d30017868fd)
![{\displaystyle =(n+1)^{2}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/563b6400b1a76c2457d7730243f183f471f775a3)
- ดังนั้นเราจึงสรุปได้ว่า
เป็นจริง เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวกที่มีค่ามากกว่า 4
ข้อย่อย 5
(Base Case) n มีค่าเท่ากับ 2 และเราได้ว่า
(Induction Case) สมมติให้ n เป็นจำนวนเต็มบวกที่มีค่ามากกว่า 2 และให้สมการในโจทย์เป็นจริง เราได้ว่า
![{\displaystyle 1+{\frac {1}{4}}+\dotsb +{\frac {1}{n+1}}^{2}\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/9c9af418490a6270b96cd940c8982f0d6e3e7bd0) |
![{\displaystyle =\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f2219e60aaf3efae72388ea5a38538ff64f0ce00) |
![{\displaystyle (1+{\frac {1}{4}}+\dotsb +{\frac {1}{n^{2}}})+{\frac {1}{(n+1)^{n}}}\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/b098a38c999adb3bdf66323598bde416e3c35274) |
|
![{\displaystyle <\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/c4a3b12f3f0b7214f99d6f699917080b1df02c74) |
![{\displaystyle 2-{\frac {1}{n}}+{\frac {1}{(n+1)^{2}}}\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/5f7e2394902e45e1c11dbb6c33f43c95248739cd) |
|
![{\displaystyle <\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/c4a3b12f3f0b7214f99d6f699917080b1df02c74) |
![{\displaystyle 2-{\frac {1}{n}}+{\frac {1}{n(n+1)}}\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/974c7081fb95c7191a5e5bbdaa5e5f7dbf94436d) |
|
![{\displaystyle =\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f2219e60aaf3efae72388ea5a38538ff64f0ce00) |
![{\displaystyle 2-{\frac {1}{n}}{\Bigg [}1-{\frac {1}{n+1}}{\Bigg ]}\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/c465e8236c06157803be1e442f2c64db25a29950) |
|
![{\displaystyle =\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f2219e60aaf3efae72388ea5a38538ff64f0ce00) |
![{\displaystyle 2-{\frac {1}{n}}{\frac {n}{n+1}}\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/cd82f65146d5a3176cd7afd83b8ee3127750c7dc) |
|
![{\displaystyle =\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f2219e60aaf3efae72388ea5a38538ff64f0ce00) |
![{\displaystyle 2-{\frac {1}{n+1}}\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/ea0afd5e2305b4d3e6e5f8c77a2683411fe93b78) |
ดังนั้นเราสามารถสรุปได้ว่าสมการในโจทย์เป็นจริงสำหรับจำนวนจริง
ทุกจำนวน
ข้อย่อย 6
(Base Case) n มีค่าเท่ากับ 0 และเราได้ว่า
ซึ่งหารด้วย 6 ได้ลงตัว
(Induction Case) สมมติว่า n เป็นจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบ และสมมติให้
หารด้วย 6 ลงตัว
พิจารณาค่า
เราได้ว่า 6 หาร
ลงตัวเนื่องจาก 3 หาร
ลงตัว นอกจากนี้ 2 ยังหาร
ลงตัวเนื่องจากในค่า
และ
ลงตัว จะต้องมีสักตัวที่เป็นจำนวนคู่
เนื่องจาก 6 หารทั้ง
และ
ลงตัว เราจึงได้ว่า 6 หาร
ลงตัวด้วย
ดังนั้นเราจึงสรุปได้ว่า 6 หาร
ลงตัวสำหรับจำนวนเต็ม n ที่ไม่เป็นลบทุกจำนวน
ข้อย่อย 7
ก่อนเราจะทำการพิสูจน์ข้อความในโจทย์ เราจะทำการพิสูจน์ lemma ต่อไปนี้
lemma: ให้
,
,
และ
เป็นเซตใดๆ ที่
และ
แล้ว
พิสูจน์ (lemma): ให้ x เป็นค่าใดๆ สมมติให้
เราได้ว่า
และ
เนื่องจาก
และ
เราได้ว่า
และ
ด้วย ดังนั้น
เนื่องจาก x เป็นค่าใดๆ เราจึงสามารถสรุปได้ว่า
ฉะนั้น
พิสูจน์ (โจทย์)
(Base Case) n มีค่าเท่ากับ 1 ในกรณีนี้เราได้ว่า
(Induction Case) ให้ n เป็นจำนวนเต็มบวก และสมมติให้ข้อความที่โจทย์ต้องการพิสูจน์เป็นจริง
เราได้ว่า
และ
โจทย์กำหนดว่า
และจาำกสมมติฐานเราได้ว่า
ฉะนั้นด้วย lemma เราได้ว่า
ฉะนั้นเราจึงสรุปได้ว่าข้อความในโจทย์เป็นจริงสำหรับจำนวนเต็มบวก n ทุกค่า
ข้อย่อย 8
(Base Case) n มีค่าเท่ากับ 1 และเราจะได้ว่า
(Induction Case) ให้ n เป็นจำนวนเต็มที่มีค่ามากกว่า 0 และสมมติให้สมการในโจทย์เป็นจริง ได้ว่า
![{\displaystyle 1\cdot 2^{0}+2\cdot 2^{1}+\dotsb +(n+1)\cdot 2^{n}\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/aab5613edfd786880168cab9460143d43068a76d) |
![{\displaystyle =\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f2219e60aaf3efae72388ea5a38538ff64f0ce00) |
![{\displaystyle (1\cdot 2^{0}+2\cdot 2^{1}+\dotsb +n\cdot 2^{n-1})+(n+1)\cdot 2^{n}\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/eb406ddd3bddfb7bed498a822c1e404cab0e00d9) |
|
![{\displaystyle =\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f2219e60aaf3efae72388ea5a38538ff64f0ce00) |
![{\displaystyle (n-1)2^{n}+1+(n+1)\cdot 2^{n}\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/a93b2252ca811654851a4fd574242be20b93b0e7) |
|
![{\displaystyle =\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f2219e60aaf3efae72388ea5a38538ff64f0ce00) |
![{\displaystyle (2n)\cdot 2^{n}+1\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/35e14e43de582b5159186173a716e5534d8d7c7b) |
|
![{\displaystyle =\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f2219e60aaf3efae72388ea5a38538ff64f0ce00) |
![{\displaystyle n\cdot 2^{n+1}+1\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/2b2df0a1428b1ffda46438c23aced40c695f261f) |
ดังนั้นเราสรุปได้ว่าสมการเป็นจริงสำหรับจำนวนเต็มบวก n ทุกจำนวน
ข้อ 9
(Base Case) n มีค่าเท่ากับ 1 และเราได้ว่า
ซึ่งหารด้วย 21 ลงตัว
(Induction Case) ให้ n เป็นจำนวนเต็มบวก และสมมติให้
หารด้วย 21 ลงตัว
เราได้ว่า
จากสมมติฐาน เราได้ว่า 21 หาร
ลงตัว ดังนั้นมันจึงหาร
ลงตัว และเนื่องจาก 21 หาร
ลงตัว เราจึงได้ว่า 21 หาร
ฉะนั้นเราจึงสามารถสรุปได้ว่า 21 หาร
ลงตัวสำหรับจำนวนเต็มบวก n ทุกจำนวน
ข้อ 10
lemma: สำหรับจำนวนเต็มบวก n ใดๆ
พิสูจน์ (lemma): เราได้ว่า
![{\displaystyle {\sqrt {n+2}}+{\sqrt {n+1}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/402ca47c64a08d37c404819b227e190c16f7f6e3) |
![{\displaystyle >\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/ee6739a2525cc994782dc0e967d20373f28a614d) |
![{\displaystyle 2{\sqrt {n+1}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/476f2ae71ace2188380fc414b5ab21b894477f76) |
![{\displaystyle ({\sqrt {n+2}}+{\sqrt {n+1}}){\frac {{\sqrt {n+2}}-{\sqrt {n+1}}}{{\sqrt {n+2}}-{\sqrt {n+1}}}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/571e2de8b987da2f73e311fb9947d510616c01d1) |
![{\displaystyle >\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/ee6739a2525cc994782dc0e967d20373f28a614d) |
![{\displaystyle 2{\sqrt {n+1}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/476f2ae71ace2188380fc414b5ab21b894477f76) |
![{\displaystyle {\frac {1}{{\sqrt {n+2}}-{\sqrt {n+1}}}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/06ff9bf348bc7d4cc647f2d7abf37486040c236c) |
![{\displaystyle >\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/ee6739a2525cc994782dc0e967d20373f28a614d) |
![{\displaystyle 2{\sqrt {n+1}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/476f2ae71ace2188380fc414b5ab21b894477f76) |
![{\displaystyle {\frac {1}{\sqrt {n+1}}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/93beec2dc7cb0c51eb0900761adf965b386f3a7c) |
![{\displaystyle >\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/ee6739a2525cc994782dc0e967d20373f28a614d) |
![{\displaystyle 2{\sqrt {n+2}}-2{\sqrt {n+1}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/fdb73ad1ef6705acdcf854c2ccca3ba0f4d454fe) |
![{\displaystyle 2{\sqrt {n+1}}+{\frac {1}{\sqrt {n+1}}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f71464435593e31b131a01b43dd48cd1194b73b6) |
![{\displaystyle >\,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/ee6739a2525cc994782dc0e967d20373f28a614d) |
![{\displaystyle 2{\sqrt {n+2}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/6960e6056cc19a151e5d65f46bdeb6e82bb75990) |
พิสูจน์ (โจทย์)
(Base Case) n มีค่าเท่ากับ 1 เราได้ว่า
(Induction Case) ให้ n เป็นจำนวนเต็มบวก และสมมติให้อสมการในโจทย์เป็นจริง เราได้ว่า
ดังนั้นเราสามารถสรุปได้ว่าอสมการในโจทย์เป็นจริงสำหรับจำนวนเต็มบวก n ทุกตัว