ข้อย่อย 1
เนื่องจากเหรียญที่โยนเป็นเหรียญไม่ถ่วงน้ำหนัก ฉะนั้นผลลัพธ์ของการโยนเหรียญทั้งหมด
แบบจึีงมีความน่าจะเป็นเท่ากันคือ
ถ้าจำนวนหัวเท่ากับจำนวนก้อยในการโยนเหรียญทั้งหมด 10 ครั้ง หมายความว่าเราโยนได้หัว 5 ครั้ง และโยนได้ก้อย 5 ครั้ง
ผลลัพธ์ที่มีเหรียญออกหัว 5 ครั้งและออกก้อย 5 ครั้งมีทั้งหมด
ผลลัพธ์ ดังนั้นความน่าจะเป็นที่ได้จำนวนหัวจะเท่ากับจำนวนก้อยคือ
ข้อย่อย 2
ให้
เป็นเซตของผลลัพธ์การโยนเหรียญทั้งหมด
เป็นเซตของผลลัพธ์ที่มีจำนวนหัวมากกว่าจำนวนก้อย
เป็นเซตของผลลัพธ์ที่มีจำนวนก้อยมากกว่าจำนวนหัว
เป็นเซตของผลลัพธ์ที่มีจำนวนหัวเท่ากับจำนวนก้อย แล้วได้จำนวนหัวเท่ากับจำนวนก้อย
เนื่องจาก
และ
ไม่มีส่วนร่วมกันเป็นคู่ๆ เราได้ว่า
จากข้อ 1 เราทราบว่า
พิจารณาเซต
และ
เราจะแสดงว่า
นิยามฟังก์ชัน
ดังต่อไปนี้
เปลี่ยนหัวเป็นก้อยและเปลี่ยนก้อยเป็นหัว (เช่น
) เห็นได้อย่างชัดเจนว่า
เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและทั่วถึง ฉะนั้น
เนื่องจากสมาชิกทุกตัวในแซมเปิลสเปซของโจทย์ข้อนี้มีความน่าจะเป็นเท่ากัน (ดูข้อ 1) เราได้ว่า
ฉะนั้น เราได้ว่า
ฉะนั้น
ข้อย่อย 3
ผลลัพธ์ที่การโยนเหรียญครั้งที่ i และการโยนเหรียญครั้งที่ 11-i มีหน้าที่ออกเหมือนกัน สำหรับ 1=1,2,3,4,5 ก็คือ ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 10 เหมือนกัน, ครั้งที่ 2 และครั้งที่ 9 เหมือนกัน, ครั้งที่ 3 และครั้งที่ 8 เหมือนกัน, ครั้งที่ 4 และครั้งที่ 7 เหมือนกัน, ครั้งที่ 5 และครั้งที่ 6 เหมือนกัน ยกตัวอย่างเช่น HTTHTTHTTH หรือ TTHHTTHHTT (พูดแบบไม่เป็นทางการคือ อ่านจากหน้าไปหลังหรือหลังไปหน้าก็เหมือนกัน)
ผลลัพธ์ลักษณะข้างบนมีอยู่
แบบ เนื่องจากเมื่อเรากำหนดผลลัพธ์ของการโยนเหรียญครั้งที่ 1, 2, ..., 5 แล้ว เราก็ทราบผลลัพธ์ของการโยนเหรียญที่เหลืออีก 5 ครั้งโดยปริยาย
ฉะนั้นความน่าจะเป็นที่จะโยนเหรียญได้ผลลัพธ์ทีมีเงื่อนไขตามโจทย์ คือ
ข้อย่อย 4
ให้
เป็นเซตของผลลัพธ์การโยนเหรียญทั้งหมด
ครั้ง ที่ไม่มีหัวติดกันตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป
เราได้ว่า
,
,
, และ
. (สังเกตว่าถ้าเราโยนเหรียญน้อยกว่า 4 คร้้ง ผลลัพธ์ของการโยนเหรีญทั้งหมดจะไม่มีหัวติดกันตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป)
พิจารณาเซต
ให้
โดยที่
(H = head = หัว, T = tail = ก้อย) เราได้ว่าเราสามารถแบ่ง
ออกได้เป็นสี่กรณี คือ:
เราได้ว่า
เป็นผลลัพธ์การโยนเหรียญจำนวน
ครั้งที่ไม่มีหัวติดกินตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป ถ้าให้
เป็นเซตของผลลัพธ์ในกรณีนี้ เราได้ว่า 
เราได้ว่า
เป็นผลลัพธ์การโยนเหรียญจำนวน
ครั้งที่ไม่มีหัวติดกินตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป ถ้าให้
เป็นเซตของผลลัพธ์ในกรณีนี้ เราได้ว่า 
เราได้ว่า
เป็นผลลัพธ์การโยนเหรียญจำนวน
ครั้งที่ไม่มีหัวติดกินตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป ถ้าให้
เป็นเซตของผลลัพธ์ในกรณีนี้ เราได้ว่า 
เราได้ว่า
เป็นผลลัพธ์การโยนเหรียญจำนวน
ครั้งที่ไม่มีหัวติดกินตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป ถ้าให้
เป็นเซตของผลลัพธ์ในกรณีนี้ เราได้ว่า 
เนื่องจาก
และ
ไม่มีส่วนร่วมกันเป็นคู่ๆ เราได้ว่า
ฉะนั้นเราจะได้ว่า
ฉะนั้นความน่าจะเป็นที่เราจะโยนเหรียญได้หัวติดกันอย่างน้อย 4 ครั้งจึงมีค่าเท่ากับ