ผลต่างระหว่างรุ่นของ "418531 ภาคต้น 2552/โจทย์ปัญหาความน่าจะเป็น I/เฉลยข้อ 1"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย '== ข้อย่อย 1 == จำนวนหัวเท่ากับจำนวนก้อยในการโยนเหรี…')
 
 
(ไม่แสดง 9 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
แถว 1: แถว 1:
 
== ข้อย่อย 1 ==
 
== ข้อย่อย 1 ==
จำนวนหัวเท่ากับจำนวนก้อยในการโยนเหรียญทั้งหมด 10 ครั้ง คือโยนได้หัว 5 ครั้ง และโยนได้ก้อย 5 ครั้งนั่นเอง
+
เนื่องจากเหรียญที่โยนเป็นเหรียญไม่ถ่วงน้ำหนัก ฉะนั้นผลลัพธ์ของการโยนเหรียญทั้งหมด <math>2^n \,</math> แบบจึีงมีความน่าจะเป็นเท่ากันคือ <math>1 / 2^n \,</math>
  
ให้ <math>A_k</math> เป็นเหตุการณ์ที่โยนเหรียญแล้วได้หัว k ครั้ง
+
ถ้าจำนวนหัวเท่ากับจำนวนก้อยในการโยนเหรียญทั้งหมด 10 ครั้ง หมายความว่าเราโยนได้หัว 5 ครั้ง และโยนได้ก้อย 5 ครั้ง
  
จาก Binomial theorem จะได้
+
ผลลัพธ์ที่มีเหรียญออกหัว 5 ครั้งและออกก้อย 5 ครั้งมีทั้งหมด <math>{10 \choose 5} \,</math> ผลลัพธ์ ดังนั้นความน่าจะเป็นที่ได้จำนวนหัวจะเท่ากับจำนวนก้อยคือ <math>\frac{1}{2^n} {10 \choose 5} \,</math>
  
<math>Pr(A_5)={10 \choose 5}(0.5)^5(0.5^5)={10 \choose 5}(0.5)^{10} </math>
+
== ข้อย่อย 2 ==
 +
ให้ <math>A \,</math> เป็นเซตของผลลัพธ์การโยนเหรียญทั้งหมด
 +
   
 +
<math>B \,</math> เป็นเซตของผลลัพธ์ที่มีจำนวนหัวมากกว่าจำนวนก้อย
 +
 +
<math>C \,</math> เป็นเซตของผลลัพธ์ที่มีจำนวนก้อยมากกว่าจำนวนหัว
 +
   
 +
<math>D \,</math> เป็นเซตของผลลัพธ์ที่มีจำนวนหัวเท่ากับจำนวนก้อย แล้วได้จำนวนหัวเท่ากับจำนวนก้อย
 +
 
 +
เนื่องจาก <math>A = B \cup C \cup D \,</math> และ <math>B, C, D \,</math> ไม่มีส่วนร่วมกันเป็นคู่ๆ เราได้ว่า <math>1 = \Pr(A) = \Pr(B) + \Pr(C) + \Pr(D)</math>
 +
 
 +
จากข้อ 1 เราทราบว่า <math>\Pr(D) = \frac{1}{2^{10}} {10 \choose 5}</math>
 +
 
 +
พิจารณาเซต <math>B \,</math> และ <math>C \,</math> เราจะแสดงว่า <math>|B| = |C| \,</math>
 +
 
 +
นิยามฟังก์ชัน <math>f: B \rightarrow C \,</math> ดังต่อไปนี้ <math>f \,</math> เปลี่ยนหัวเป็นก้อยและเปลี่ยนก้อยเป็นหัว (เช่น <math>f(HHTTHHTHTH) = TTHHTTHTHT \,</math>) เห็นได้อย่างชัดเจนว่า <math>f \,</math> เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและทั่วถึง ฉะนั้น <math>|B| = |C| \,</math>
 +
 
 +
เนื่องจากสมาชิกทุกตัวในแซมเปิลสเปซของโจทย์ข้อนี้มีความน่าจะเป็นเท่ากัน (ดูข้อ 1) เราได้ว่า <math>\Pr(B) = \Pr(C)</math>
 +
 
 +
ฉะนั้น เราได้ว่า <math>1 = \Pr(B) + \Pr(C) + \Pr(D) = 2\Pr(B) + \Pr(D) \,</math> ฉะนั้น <math>\Pr(B) = \frac{1 - \Pr(D)}{2} = \frac{1}{2} - \frac{1}{2^{11}}{10 \choose 5}</math>
 +
 
 +
== ข้อย่อย 3 ==
 +
ผลลัพธ์ที่การโยนเหรียญครั้งที่ i และการโยนเหรียญครั้งที่ 11-i มีหน้าที่ออกเหมือนกัน สำหรับ 1=1,2,3,4,5 ก็คือ ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 10 เหมือนกัน, ครั้งที่ 2 และครั้งที่ 9 เหมือนกัน, ครั้งที่ 3 และครั้งที่ 8 เหมือนกัน, ครั้งที่ 4 และครั้งที่ 7 เหมือนกัน, ครั้งที่ 5 และครั้งที่ 6 เหมือนกัน ยกตัวอย่างเช่น HTTHTTHTTH หรือ TTHHTTHHTT (พูดแบบไม่เป็นทางการคือ อ่านจากหน้าไปหลังหรือหลังไปหน้าก็เหมือนกัน)
 +
 
 +
ผลลัพธ์ลักษณะข้างบนมีอยู่ <math>2^5 \,</math> แบบ เนื่องจากเมื่อเรากำหนดผลลัพธ์ของการโยนเหรียญครั้งที่ 1, 2, ..., 5 แล้ว เราก็ทราบผลลัพธ์ของการโยนเหรียญที่เหลืออีก 5 ครั้งโดยปริยาย
 +
 
 +
ฉะนั้นความน่าจะเป็นที่จะโยนเหรียญได้ผลลัพธ์ทีมีเงื่อนไขตามโจทย์ คือ <math>\frac{2^5}{2^{10}} = \frac{1}{2^5}</math>
 +
 
 +
== ข้อย่อย 4 ==
 +
ให้ <math>P_n \,</math> เป็นเซตของผลลัพธ์การโยนเหรียญทั้งหมด <math>n \,</math> ครั้ง ที่ไม่มีหัวติดกันตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป
 +
 
 +
เราได้ว่า <math>|P_1| = 2 \,</math>, <math>|P_2| = 4 \,</math>, <math>|P_3| = 8 \,</math>, และ <math>|P_4| = 15 \,</math>. (สังเกตว่าถ้าเราโยนเหรียญน้อยกว่า 4 คร้้ง ผลลัพธ์ของการโยนเหรีญทั้งหมดจะไม่มีหัวติดกันตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป)
 +
 
 +
พิจารณาเซต <math>P_n \,</math> ให้ <math>a_1 a_2 a_3 \cdots a_n \in P_n</math> โดยที่ <math>a_i \in \{ H, T \}</math> (H = head = หัว, T = tail = ก้อย) เราได้ว่าเราสามารถแบ่ง <math>a_1 a_2 \cdots a_n</math> ออกได้เป็นสี่กรณี คือ:
 +
* <math>a_1 = T \,</math> เราได้ว่า <math>a_2 a_3 \cdots a_n</math> เป็นผลลัพธ์การโยนเหรียญจำนวน <math>n-1 \,</math> ครั้งที่ไม่มีหัวติดกินตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป ถ้าให้ <math>A_1 \,</math> เป็นเซตของผลลัพธ์ในกรณีนี้ เราได้ว่า <math>|A_1| = |P_{n-1}| \,</math>
 +
* <math>a_1 = H, a_2 = T \,</math> เราได้ว่า <math>a_3 a_4 \cdots a_n</math> เป็นผลลัพธ์การโยนเหรียญจำนวน <math>n-2 \,</math> ครั้งที่ไม่มีหัวติดกินตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป ถ้าให้ <math>A_2 \,</math> เป็นเซตของผลลัพธ์ในกรณีนี้ เราได้ว่า <math>|A_2| = |P_{n-2}| \,</math>
 +
* <math>a_1 = H, a_2 = H, a_3 = T \,</math> เราได้ว่า <math>a_4 a_5 \cdots a_n</math> เป็นผลลัพธ์การโยนเหรียญจำนวน <math>n-3 \,</math> ครั้งที่ไม่มีหัวติดกินตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป ถ้าให้ <math>A_3 \,</math> เป็นเซตของผลลัพธ์ในกรณีนี้ เราได้ว่า <math>|A_3| = |P_{n-3}| \,</math>
 +
* <math>a_1 = H, a_2 = H, a_3 = H, a_4 = T \,</math> เราได้ว่า <math>a_5 a_6 \cdots a_n</math> เป็นผลลัพธ์การโยนเหรียญจำนวน <math>n-4 \,</math> ครั้งที่ไม่มีหัวติดกินตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป ถ้าให้ <math>A_4 \,</math> เป็นเซตของผลลัพธ์ในกรณีนี้ เราได้ว่า <math>|A_4| = |P_{n-4}| \,</math>
 +
 
 +
เนื่องจาก <math>P_n = A_1 \cup A_2 \cup A_3 \cup A_4</math> และ <math>A_1, A_2, A_3, A_4 \,</math> ไม่มีส่วนร่วมกันเป็นคู่ๆ เราได้ว่า <math>|P_n| = |A_1| + |A_2| + |A_3| + |A_4| = |P_{n-1}| + |P_{n-2}| + |P_{n-3}| + |P_{n-4}| \,</math>
 +
 
 +
ฉะนั้นเราจะได้ว่า <math>|P_5| = 29, |P_6| = 56, |P_7| = 108, |P_8| = 208, |P_9| = 401, |P_{10}| = 773 \,</math>
 +
 
 +
ฉะนั้นความน่าจะเป็นที่เราจะโยนเหรียญได้หัวติดกันอย่างน้อย 4 ครั้งจึงมีค่าเท่ากับ <math>\frac{2^{10} - 773}{2^{10}} = \frac{251}{1024} \,</math>

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:50, 2 สิงหาคม 2552

ข้อย่อย 1

เนื่องจากเหรียญที่โยนเป็นเหรียญไม่ถ่วงน้ำหนัก ฉะนั้นผลลัพธ์ของการโยนเหรียญทั้งหมด แบบจึีงมีความน่าจะเป็นเท่ากันคือ

ถ้าจำนวนหัวเท่ากับจำนวนก้อยในการโยนเหรียญทั้งหมด 10 ครั้ง หมายความว่าเราโยนได้หัว 5 ครั้ง และโยนได้ก้อย 5 ครั้ง

ผลลัพธ์ที่มีเหรียญออกหัว 5 ครั้งและออกก้อย 5 ครั้งมีทั้งหมด ผลลัพธ์ ดังนั้นความน่าจะเป็นที่ได้จำนวนหัวจะเท่ากับจำนวนก้อยคือ

ข้อย่อย 2

ให้ เป็นเซตของผลลัพธ์การโยนเหรียญทั้งหมด

เป็นเซตของผลลัพธ์ที่มีจำนวนหัวมากกว่าจำนวนก้อย

เป็นเซตของผลลัพธ์ที่มีจำนวนก้อยมากกว่าจำนวนหัว

เป็นเซตของผลลัพธ์ที่มีจำนวนหัวเท่ากับจำนวนก้อย แล้วได้จำนวนหัวเท่ากับจำนวนก้อย

เนื่องจาก และ ไม่มีส่วนร่วมกันเป็นคู่ๆ เราได้ว่า

จากข้อ 1 เราทราบว่า

พิจารณาเซต และ เราจะแสดงว่า

นิยามฟังก์ชัน ดังต่อไปนี้ เปลี่ยนหัวเป็นก้อยและเปลี่ยนก้อยเป็นหัว (เช่น ) เห็นได้อย่างชัดเจนว่า เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและทั่วถึง ฉะนั้น

เนื่องจากสมาชิกทุกตัวในแซมเปิลสเปซของโจทย์ข้อนี้มีความน่าจะเป็นเท่ากัน (ดูข้อ 1) เราได้ว่า

ฉะนั้น เราได้ว่า ฉะนั้น

ข้อย่อย 3

ผลลัพธ์ที่การโยนเหรียญครั้งที่ i และการโยนเหรียญครั้งที่ 11-i มีหน้าที่ออกเหมือนกัน สำหรับ 1=1,2,3,4,5 ก็คือ ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 10 เหมือนกัน, ครั้งที่ 2 และครั้งที่ 9 เหมือนกัน, ครั้งที่ 3 และครั้งที่ 8 เหมือนกัน, ครั้งที่ 4 และครั้งที่ 7 เหมือนกัน, ครั้งที่ 5 และครั้งที่ 6 เหมือนกัน ยกตัวอย่างเช่น HTTHTTHTTH หรือ TTHHTTHHTT (พูดแบบไม่เป็นทางการคือ อ่านจากหน้าไปหลังหรือหลังไปหน้าก็เหมือนกัน)

ผลลัพธ์ลักษณะข้างบนมีอยู่ แบบ เนื่องจากเมื่อเรากำหนดผลลัพธ์ของการโยนเหรียญครั้งที่ 1, 2, ..., 5 แล้ว เราก็ทราบผลลัพธ์ของการโยนเหรียญที่เหลืออีก 5 ครั้งโดยปริยาย

ฉะนั้นความน่าจะเป็นที่จะโยนเหรียญได้ผลลัพธ์ทีมีเงื่อนไขตามโจทย์ คือ

ข้อย่อย 4

ให้ เป็นเซตของผลลัพธ์การโยนเหรียญทั้งหมด ครั้ง ที่ไม่มีหัวติดกันตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป

เราได้ว่า , , , และ . (สังเกตว่าถ้าเราโยนเหรียญน้อยกว่า 4 คร้้ง ผลลัพธ์ของการโยนเหรีญทั้งหมดจะไม่มีหัวติดกันตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป)

พิจารณาเซต ให้ โดยที่ (H = head = หัว, T = tail = ก้อย) เราได้ว่าเราสามารถแบ่ง ออกได้เป็นสี่กรณี คือ:

  • เราได้ว่า เป็นผลลัพธ์การโยนเหรียญจำนวน ครั้งที่ไม่มีหัวติดกินตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป ถ้าให้ เป็นเซตของผลลัพธ์ในกรณีนี้ เราได้ว่า
  • เราได้ว่า เป็นผลลัพธ์การโยนเหรียญจำนวน ครั้งที่ไม่มีหัวติดกินตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป ถ้าให้ เป็นเซตของผลลัพธ์ในกรณีนี้ เราได้ว่า
  • เราได้ว่า เป็นผลลัพธ์การโยนเหรียญจำนวน ครั้งที่ไม่มีหัวติดกินตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป ถ้าให้ เป็นเซตของผลลัพธ์ในกรณีนี้ เราได้ว่า
  • เราได้ว่า เป็นผลลัพธ์การโยนเหรียญจำนวน ครั้งที่ไม่มีหัวติดกินตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป ถ้าให้ เป็นเซตของผลลัพธ์ในกรณีนี้ เราได้ว่า

เนื่องจาก และ ไม่มีส่วนร่วมกันเป็นคู่ๆ เราได้ว่า

ฉะนั้นเราจะได้ว่า

ฉะนั้นความน่าจะเป็นที่เราจะโยนเหรียญได้หัวติดกันอย่างน้อย 4 ครั้งจึงมีค่าเท่ากับ