ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Sgt/lecture2"
Tanee (คุย | มีส่วนร่วม) |
Tanee (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 1: | แถว 1: | ||
− | สำหรับเนื้อหาในสัปดาห์นี้ | + | สำหรับเนื้อหาในสัปดาห์นี้ เราเรียนรู้เกี่ยวกับ Rayleigh quotient และคุณสมบัติของ eigen vector, eigen value ลำดับที่ 2 |
+ | ==Rayleigh quotient== | ||
นิยาม [http://en.wikipedia.org/wiki/Rayleigh_quotient Rayleigh quotient] สำหรับ vector ''x'' และ symmetric matrix ''M'' คือ <math>R(M, x) = \frac{x^TMx}{x^Tx}</math> | นิยาม [http://en.wikipedia.org/wiki/Rayleigh_quotient Rayleigh quotient] สำหรับ vector ''x'' และ symmetric matrix ''M'' คือ <math>R(M, x) = \frac{x^TMx}{x^Tx}</math> | ||
โดยสังเกตว่าถ้า ''x'' เป็น eigen vector ของ ''M'' ที่สอดคล้องกับ eigen value <math>\lambda</math> จะได้ว่า | โดยสังเกตว่าถ้า ''x'' เป็น eigen vector ของ ''M'' ที่สอดคล้องกับ eigen value <math>\lambda</math> จะได้ว่า | ||
แถว 29: | แถว 30: | ||
&= \sum\limits_{i=1}^n \sum\limits_{j=1}^n (\phi_i^T \cdot x)(\phi_j^T \cdot x)(\phi_i^T\phi_j)\lambda_j\qquad &&;\ i \neq j \Rightarrow (\phi_i^T\phi_j) = 0 \\ | &= \sum\limits_{i=1}^n \sum\limits_{j=1}^n (\phi_i^T \cdot x)(\phi_j^T \cdot x)(\phi_i^T\phi_j)\lambda_j\qquad &&;\ i \neq j \Rightarrow (\phi_i^T\phi_j) = 0 \\ | ||
&= \sum\limits_{i=1}^n (\phi_i^T \cdot x)^2(\phi_i^T\phi_i)\lambda_i \qquad &&;\ (\phi_i^T\phi_i) = 1 \\ | &= \sum\limits_{i=1}^n (\phi_i^T \cdot x)^2(\phi_i^T\phi_i)\lambda_i \qquad &&;\ (\phi_i^T\phi_i) = 1 \\ | ||
− | &= \sum\limits_{i=1}^n (\phi_i^T \cdot x)^2\lambda_i \\ | + | &= \sum\limits_{i=1}^n (\phi_i^T \cdot x)^2\lambda_i &&(*)\\ |
&\leq \lambda_n\sum\limits_{i=1}^n (\phi_i^T \cdot x)^2 \\ | &\leq \lambda_n\sum\limits_{i=1}^n (\phi_i^T \cdot x)^2 \\ | ||
&= \lambda_n | &= \lambda_n | ||
\end{align} | \end{align} | ||
</math> | </math> | ||
+ | จะเห็นได้ว่า Rayleigh quotient มีค่ามากที่สุดเป็น eigen value ที่ใหญ่ที่สุด และ vector ''x'' ที่ทำให้มีค่าดังกล่าวได้แก่ eigen value ของ ''M'' (พิจารณาที่ <math>(*)</math> ) | ||
+ | |||
+ | ==คุณสมบัติของ eigen value กับกราฟ== | ||
+ | ให้กราฟ ''G'' ขนาด ''n'' nodes และ <math>A_G</math> เป็น adjacency matrix ของ G ถ้าสำหรับ node ที่ i ใดๆ เราแทนดีกรีด้วย <math>deg(v_i)</math> เราจะนิยาม diagonal matrix <math>D_G</math> ดังนี้ | ||
+ | <math>D_G = | ||
+ | \begin{pmatrix} | ||
+ | deg(v_1) & 0 & \cdots & 0 \\ | ||
+ | 0 & deg(v_2) & \cdots & 0 \\ | ||
+ | \vdots & \vdots & \ddots & \vdots \\ | ||
+ | 0 & 0 & \cdots & deg(v_n) | ||
+ | \end{pmatrix}</math> |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:26, 26 มกราคม 2558
สำหรับเนื้อหาในสัปดาห์นี้ เราเรียนรู้เกี่ยวกับ Rayleigh quotient และคุณสมบัติของ eigen vector, eigen value ลำดับที่ 2
Rayleigh quotient
นิยาม Rayleigh quotient สำหรับ vector x และ symmetric matrix M คือ โดยสังเกตว่าถ้า x เป็น eigen vector ของ M ที่สอดคล้องกับ eigen value จะได้ว่า เนื่องจาก
และเราจะพิสูจน์ทฤษฎีบทว่า "ให้ เป็น symmetric matrix ถ้า เป็น non-zero vector ที่ทำให้ มีค่ามากที่สุด แล้ว จะเป็น eigen vector ของ ที่สอดคล้องกับ eigen value ที่มากที่สุด"
เราจะพิสูจน์โดยการใช้ Spectral theory (เนื้อหาครั้งที่ 1) ให้ M มี dimension ขนาด n (symmetric) ได้ว่า M มี eigen value และ eigen vector ที่สอดคล้องกับ เพื่อความสะดวก เราให้ว่า ||x|| = 1 และ |||| = 1 สำหรับทุก i และเราสามารถเขียน x ในรูป จากนั้นจึงคำนวณหาค่า Rayleigh quotient
จะเห็นได้ว่า Rayleigh quotient มีค่ามากที่สุดเป็น eigen value ที่ใหญ่ที่สุด และ vector x ที่ทำให้มีค่าดังกล่าวได้แก่ eigen value ของ M (พิจารณาที่ )
คุณสมบัติของ eigen value กับกราฟ
ให้กราฟ G ขนาด n nodes และ เป็น adjacency matrix ของ G ถ้าสำหรับ node ที่ i ใดๆ เราแทนดีกรีด้วย เราจะนิยาม diagonal matrix ดังนี้