ยุบ
Spectral Graph Theory
|
- บทนำและทบทวนพีชคณิตเชิงเส้น (ณัฐวุฒิ)
- คุณสมบัติของ Eigenvalue ต่อกราฟ (ธานี,ณัฐวุฒิ)
- คุณสมบัติของ Eigenvalue ต่อกราฟ[2] (ภัทร)
- คุณสมบัติของ Eigenvalue ลำดับที่สองบนกราฟต่างๆ (ธานี)
- Cheeger Inequality (ศุภชวาล)
- การทดลอง Cheeger Inequality และ Effective Resistance (ธานี)
- Random Walks และ Psuedo Random Generator (ศุภชวาล)
- Psuedo Random Generator[2] (ภัทร)
- Coding Theory และ Expander code (ธานี)
- Expander graph from Linear coding (ภัทร)
- Chebyshev polynomial (ศุภชวาล)
- Preconditioning (ธานี)
|
แก้ไขกล่องนี้ • แก้ไขสารบัญ
|
บันทึกคำบรรยายวิชา Spectral graph theory นี้ เป็นบันทึกที่นิสิตเขียนขึ้น เนื้อหาโดยมากยังไม่ผ่านการตรวจสอบอย่างละเอียด การนำไปใช้ควรระมัดระวัง
Coding Theory
เราต้องการส่งข้อมูลขนาด m บิท แต่ระหว่างการส่งอาจจะเกิดความผิดพลาดทำให้บางบิทไม่ถูกต้อง
จึงมีการคิดการส่งเพื่อให้สามารถตรวจจับ / แก้ไขความผิดพลาดได้ โดยส่งข้อมูลที่ encode แล้วและมีขนาด n บิท นั่นคือ
Hamming Code คือการ encode ข้อมูลขนาด 4 บิทไปเป็นข้อมูล 7 บิท โดยสามารถรับประกันได้ว่า ถ้าข้อมูลผิดพลาดไปไม่เกิน 1 บิท จะสามารถตรวจจับและแก้ไขได้ โดยให้ข้อมูลอยู่ที่บิทที่ 3,5,6,7 และ ให้
1.บิทที่ 4 เป็น XOR ของบิทที่ 5,6,7
2.บิทที่ 2 เป็น XOR ของบิทที่ 3,6,7
3.บิทที่ 1 เป็น XOR ของบิทที่ 3,5,7
ให้
แทนบิทที่ i เราสามารถตรวจจับ/แก้ไขความผิดพลาดไม่เกินหนึ่งบิทได้ดังนี้
a =
XOR
XOR
XOR
,
b =
XOR
XOR
XOR
,
c =
XOR
XOR
XOR
ถ้า a,b,c ไม่เท่ากับศูนย์ บิทที่ผิดพลาดคือบิทที่
Random Linear Code
Reed-Solomon Code
อีกหนึ่งตัวอย่างของการทำ Error Correcting คือ Reed-Solomon Code
สำหรับจำนวนเฉพาะ p หนึ่งๆ และ message ขนาด m
และนิยามฟังก์ชันพหุนาม
และ code word ขนาด n คือ
Expander Code